ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหวัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนจำแนกได้หลวม ๆ ตามบริเวณที่ได้รับผลจากไวรัส โดยโรคหวัดกระทบต่อจมูก คอหอย ([[คอหอยอักเสบ]]) และโพรงจมูก ([[โพรงจมูกอักเสบ]]) เป็นหลัก ส่วนใหญ่อาการเกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อมากกว่าการทำลายเนื้อเยื่อจากไวรัสเอง การล้างมือเป็นวิธีการป้องกันหลัก และหลักฐานบางชิ้นสนับสนุนประสิทธิภาพของการสวมหน้ากากอนามัย
 
โรคหวัดเป็นโรคที่ไม่มีวิธีรักษาจำเพาะ แต่สามารถบรรเทารักษาอาการได้ โรคหวัดเป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่พบบ่อยที่สุดในมนุษย์ และอยู่คู่กับมนุษยชาติมาแต่โบราณแล้ว ผู้ใหญ่ติดโรคหวัดโดยเฉลี่ยสองถึงสามครั้งต่อปี ขณะที่เด็กโดยเฉลี่ยติดโรคหวัดระหว่างหกถึงสิบสองครั้งต่อปี
 
== อาการและอาการแสดง ==
อาการทั่วไปของโรคหวัดมีทั้งไอ น้ำมูกไหล [[คัดจมูก]] และเจ็บคอ บางครั้งอาจมีอาการปวดกล้ามเนื้อ [[ความล้า]] [[ปวดศีรษะ]]และ[[ภาวะเบื่ออาหาร|สูญเสียความอยากอาหาร]] ในผู้ป่วยโรคหวัด 40% พบอาการเจ็บคอ<ref name=E24>Eccles Pg. 24</ref> พบอาการเจ็บคอ และ 50% พบอาการไอ<ref name=CE11/> ขณะที่อาการปวดกล้ามเนื้อพบในผู้ป่วยราวครึ่งหนึ่ง<ref name=Eccles2005/> ผู้ป่วยในวัยผู้ใหญ่มักไม่พบอาการไข้ แต่พบทั่วไปในทารกและเด็ก<ref name=Eccles2005>{{cite journal | author = Eccles R | title = Understanding the symptoms of the common cold and influenza | journal = Lancet Infect Dis | volume = 5 | issue = 11 | pages = 718–25 | year = 2005 | month = November | pmid = 16253889 | doi = 10.1016/S1473-3099(05)70270-X }}</ref> อาการไอมักไม่รุนแรงนักเมื่อเทียบกับ[[ไข้หวัดใหญ่]]<ref name=Eccles2005/> ขณะที่อาการไอและไข้ในผู้ใหญ่มีแนวโน้มบ่งชี้ไข้หวัดใหญ่มากกว่า แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันอย่างมากระหว่างโรคหวัดกับไข้หวัดใหญ่<ref>Eccles Pg.26</ref> ไวรัสหลายชนิดที่เป็นสาเหตุของโรคหวัดยังอาจส่งผลให้เกิดการติดเชื้อไร้อาการ<ref>Eccles Pg. 129</ref><ref>Eccles Pg.50</ref> สีของ[[เสมหะ]]อาจมีได้ตั้งแต่ไม่มีสีไปจนถึงเหลือง เขียว และไม่บ่งชี้ถึงประเภทของตัวที่กระทำให้เกิดการติดเชื้อ<ref>Eccles Pg.30</ref>
 
=== การลุกลาม ===
โรคหวัดตามปกติโรคหวัดเริ่มต้นจากความล้า รู้สึกหนาวสะท้าน จามและปวดศีรษะ ตามด้วยอาการน้ำมูกไหลและไอหลายวัน<ref name=E24/> อาการอาจเริ่มขึ้นใน 16 ชั่วโมงนับแต่การสัมผัส<ref>{{cite book|first=editors, Richard A. Helms|title=Textbook of therapeutics : drug and disease management|year=2006|publisher=Lippincott Williams & Wilkins|location=Philadelphia, Pa. [u.a.]|isbn=9780781757348|pages=1882|url=http://books.google.ca/books?id=aVmRWrknaWgC&pg=PA1882|edition=8.}}</ref> และมักมีอาการรุนแรงที่สุดสองถึงสี่วันหลังเริ่มมีอาการ<ref name=Eccles2005/><ref>{{cite book|last=al.]|first=edited by Helga Rübsamen-Waigmann ... [et|title=Viral Infections and Treatment.|year=2003|publisher=Informa Healthcare|location=Hoboken|isbn=9780824756413|pages=111|url=http://books.google.ca/books?id=AltZnmbIhbwC&pg=PA111}}</ref> โดยปกติอาการจะหายไปเองในเจ็ดถึงสิบวัน แต่บางรายสามารถมีอาการได้นานถึงสามสัปดาห์ 35-40% ของผู้ป่วยเด็กมีอาการไอนานกว่า 10 วัน<ref name=Heik2003>{{cite journal | author = Heikkinen T, Järvinen A | title = The common cold | journal = Lancet | volume = 361 | issue = 9351 | pages = 51–9 | year = 2003 | month = January | pmid = 12517470 | doi = 10.1016/S0140-6736(03)12162-9 }}</ref> และ 10% ของผู้ป่วยเด็กมีอาการไอนานกว่า 25 วัน<ref>{{cite journal | author = Goldsobel AB, Chipps BE | title = Cough in the pediatric population | journal = J. Pediatr. | volume = 156 | issue = 3 | pages = 352–358.e1 | year = 2010 | month = March | pmid = 20176183 | doi = 10.1016/j.jpeds.2009.12.004 }}</ref>
 
== สาเหตุ ==
 
=== ไวรัส ===
โรคหวัดเป็นการติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนบน ไวรัสที่พบมากที่สุด คือ [[ไรโนไวรัส]] (30-80%) ซึ่งเป็น[[พิคอร์นาไวรัส]]ที่มี[[เซโรไทป์]]ที่รู้จักกัน 99 ชนิด<ref>{{cite journal | author = Palmenberg AC, Spiro D, Kuzmickas R, Wang S, Djikeng A, Rathe JA, Fraser-Liggett CM, Liggett SB | title = Sequencing and Analyses of All Known Human Rhinovirus Genomes Reveals Structure and Evolution | journal = Science | volume = 324 | issue = 5923 | pages = 55–9 | year = 2009 | pmid = 19213880 | doi = 10.1126/science.1165557 }}</ref><ref>Eccles Pg.77</ref> ไวรัสชนิดอื่นมี[[โคโรนาไวรัส]] (10-15%), ฮิวแมนพาราอินฟลูเอ็นซาไวรัส, ไวรัสมวลเซลล์รวมระบบหายใจ,เรสไพราทอรีซินไซเตียล อะดีโนไวรัส, เอนเทอโรไวรัสและเมตะนิวโมไวรัส<ref name="NIAID2006">{{cite web | title = Common Cold | publisher = [[National Institute of Allergy and Infectious Diseases]] | date = 27 November 2006 | url = http://www3.niaid.nih.gov/healthscience/healthtopics/colds/ | accessdate = 11 June 2007}}</ref> บ่อยครั้งที่ไวรัสมากกว่าหนึ่งชนิดก่อให้เกิดโรค<ref>Eccles Pg.107</ref> รวมทั้งสิ้นแล้ว มีไวรัสกว่า 200 ชนิดที่เกี่ยวข้องกับโรคหวัด<ref name=Eccles2005/>
 
=== การแพร่เชื้อ ===
ไวรัสโรคหวัดโดยปกติแพร่เชื้อผ่านละอองจากอากาศ ([[ละอองลอย]]) การสัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งทางจมูกที่ติดเชื้อ หรือวัตถุที่เป็นพาหะนำเชื้อ (fomite)<ref name=CE11/><ref name=Cold197>{{cite book|last=editors|first=Ronald Eccles, Olaf Weber,|title=Common cold|year=2009|publisher=Birkhäuser|location=Basel|isbn=978-3-7643-9894-1|pages=197|url=http://books.google.ca/books?id=rRIdiGE42IEC&pg=PA197|edition=Online-Ausg.}}</ref> แต่ยังไม่มีการระบุว่า ทางใดมีความสำคัญที่สุด แต่การสัมผัสมือต่อมือ และมือต่อพื้นต่อมือเหมือนจะสำคัญกว่าการติดต่อผ่านละอองลอย<ref name=E211>Eccles Pp. 211 & 215</ref> ไวรัสอาจมีชีวิตอยู่รอดเป็นเวลานาน มนุษย์อาจใช้มือหยิบจับไวรัสแล้วนำเข้าสู่ดวงตาหรือจมูกที่ซึ่งทำให้เป็นที่เกิดการติดเชื้อ<ref name=Cold197/> การแพร่เชื้อพบทั่วไปในสถานรับเลี้ยงเด็กและที่โรงเรียนเนื่องจากความใกล้ชิดของเด็กจำนวนมากซึ่งมีภูมิคุ้มกันต่ำและมักมีอนามัยเลว จากนั้น การติดสมาชิกครอบครัวคนอื่นเป็นผู้นำเชื้อเหล่านี้จะถูกนำกลับมาที่บ้านโดยสมาชิกครอบครัวคนอื่น<ref name=Text2007>{{cite book|last=al.]|first=edited by Arie J. Zuckerman ... [et|title=Principles and practice of clinical virology|year=2007|publisher=Wiley|location=Hoboken, N.J.|isbn=978-0-470-51799-4|pages=496|url=http://books.google.ca/books?id=OgbcUWpUCXsC&pg=PA496|edition=6th}}</ref> ไม่มีหลักฐานว่า อากาศที่ไหลเวียนอยู่ในเที่ยวบินพาณิชย์เป็นวิธีการแพร่เชื้อ<ref name=Cold197/> อย่างไรก็ดี บุคคลที่นั่งใกล้ชิดดูเหมือนจะมีความเสี่ยงสูงกว่า<ref name=E211/> โรคหวัดที่เกิดจากไรโนไวรัสติดเชื้อได้มากที่สุดระหว่างสามวันแรกของอาการ แต่จะติดเชื้อน้อยลงมากหลังจากนั้น<ref name="contagiousness">{{cite journal|contribution=Contagiousness of the common cold|author1=Gwaltney JM Jr|author2=Halstead SB|author-separator=,}} Invited letter in {{cite journal|title=Questions and answers|journal=Journal of the American Medical Association|date=16 July 1997|volume=278|issue=3|pages=256–257|url=http://jama.ama-assn.org/content/278/3/256|accessdate=16 September 2011|doi=10.1001/jama.1997.03550030096050}}</ref>
 
=== ลมฟ้าอากาศ ===