ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมฆียกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นำมาจากกระบะทรายของผู้ใช้ Zambo
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{คำพิพากษาไทย}}
 
{| class="navbox" style="float: right; margin: 0.8em; width:24em"
|+ <big>'''อักษรย่อ'''</big><br>'''ที่ใช้ในบทความนี้'''
เส้น 21 ⟶ 20:
|colspan="2"|การใช้อักษรย่อในนี้เพื่อมิให้บทความเยิ่นเย้อเท่านั้น แต่โดยปรกติแล้วควรเขียนด้วยคำเต็มไม่ควรย่อ เช่น ''"พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544"'' ควรเขียนว่า ''"พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544"'' มากกว่า
|}
 
'''โมฆียกรรม''' ({{lang-en|voidable act}}) หมายถึง [[นิติกรรม]]ซึ่งอาจบอกล้าง เพิกถอน หรือให้สัตยาบันได้, ถ้าบอกล้างก็เป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก ถ้าให้สัตยาบันก็มีผลสมบูรณ์มาแต่เริ่มแรก ทั้งนี้ กฎหมายเขียนเป็น "โมฆียะกรรม" ตามรูปแบบ[[ภาษาโบราณ|การเขียนโบราณ]]สมัย[[รัชกาลที่ 6]] ซึ่งยังไม่มีการบังคับให้การเขียนสะกดคำต้องเป็นไปตาม[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน|พจนานุกรมของทางราชการ]]<ref name = RoyinDict>ราชบัณฑิตยสถาน, 2551 : ออนไลน์.</ref>