ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคแฟกเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Techno~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''โคแฟกเตอร์''' เป็นสารประกอบเคมีมิใช่โปรตีนที่ยึดเกาะกับโปรตีนและจำเป็นต่อกิจกรรมทางชีววิทยาของโปรตีน โปรตีนเหล่านี้โดยทั่วไปคือ[[เอ็นไซม์]] และโคแฟเตอร์สามารถถูกมองว่าเป็น "โมเลกุลตัวช่วย" ที่ช่วยในการเปลี่ยนรูปทางชีวเคมี
โคแฟกเตอร์ <ref>Cecie Starr. ชีววิทยา1. พิมพ์ครั้งที่5. กรุงเทพฯ : เซนเกจ เลินนิ่ง,2551.</ref><references/>หมายถึง อิออนของโลหะ ที่ช่วยให้การทำงานของเอนไซม์ ณ ตำแหน่งกระตุ้น หรือช่วยในการขนส่งอิเล็กตรอน โปรตรอน และหมู่ฟังก์ชั่นอื่นๆ ไปยังตำแหน่งต่างๆ โคเอนไซม์ (Coenzyme) เป็ฯกลุ่มของสารประกอบอินทรีย์ที่ช่วยในการทำงานของเอนไซม์ ซึ่งสารประกอบกลุ่มนี้อาจมีองค์ประกอบเป็นวิตามินหรืออื่นๆเอนไซม์ในธรรมชาติประมาณ 3 ใน 4 ต้องการอิออนของโลหะ 1 ชนิด หรือ มากกว่า เพื่อให้สามารถทำงานได้ อิออนของโลหะให้และรับอิเล็กตรอนได้อย่างง่ายดาย ในขณะที่โคเอนไซม์สามารถช่วยให้เกิดสารผลิตภัณฑ์ง่ายขึ้น โดยมีการเปลี่ยนแปลงการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในสารตั้งต้นหรือสารตัวกลาง ตัวอย่างเช่น การทำงานของหมู่ฮีมในเอนไซม์คะตะเลส ฮีมเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีโครงสร้างเป็นรูปวงแหวน ประกอบด้วยอิออนของเหล็กอยู่ที่ศูนย์กลาง
 
โคแฟกเตอร์สามารถแบ่งกลุ่มได้ขึ้นอยู่กับว่ามันยึดเกาะกับเอ็นไซม์แน่นเพียงใด โคแฟกเตอร์ที่ยึดเกาะหลวม ๆ เรียกว่า '''โคเอนไซม์''' และโคแฟกเตอร์ที่ยึดเกาะแน่นเรียกว่า '''กลุ่มพรอสธีติก''' เอ็นไซม์ไม่ทำงาน โดยไม่มีโคแฟกเตอร์ เรียกว่า [[อะโพเอ็นไซม์]] ขณะที่เอ็นไซม์สมบูรณ์ที่มีโคแฟกเตอร์ เรียกว่า [[โฮโลเอ็นไซม์]]
[[หมวดหมู่:เอ็นไซม์]]
[[หมวดหมู่:โคแฟกเตอร์| ]]
 
[[en:Cofactor (biochemistry)]]