ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์เลือดอุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Giftlita (คุย | ส่วนร่วม)
<ref>สรุปชีววิทยา ม.ปลาย โดย นิพนธ์ ศรีนฤมล</ref>
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สัตว์เลือดอุ่น''' เป็นคำอธิบายสปีชีส์สัตว์ที่มีอุณหภูมิเลือดค่อนข้างสูง และรักษา[[ภาวะธำรงดุล]]ผ่านกระบวนการ[[เมแทบอลิซึม]]ภายใน ซึ่งเป็นคุณลักษณะของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]และ[[นก]]
สัตว์เลือดอุ่น (warm-blooded animal) คือ สัตว์ที่สามารถรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ได้ ร่างกายมีกลไกควบคุมอุณหภูมิไม่ให้เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม สัตว์เลือดอุ่นมี ๒ กลุ่มใหญ่ได้แก่สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น คน ช้าง แมวน้ำ ปลาวาฬ ปลาโลมา พะยูน สุนัข เป็นต้น และสัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ เป็นต้น
 
นักวิทยาศาสตร์ไม่ใช้คำว่า "เลือดอุ่น" และ "[[สัตว์เลือดเย็น|เลือดเย็น]]" แล้ว เพราะคำกำกวม และมีความเข้าใจในสาขานี้เพิ่มขึ้น ประเภทอุณหภูมิร่างกายมิได้แยกหมวดหมู่จากกันชัด แต่ละคำสามารถใช้คำอื่นแทนได้ [[การปรับอุณหภุมิกาย]]มีการใช้เทคนิคหลากหลายซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะต่อเนื่องอุณหภูมิร่างกาย
[[หมวดหมู่:สรีรวิทยาสัตว์]]
 
[[en:Warm-blooded]]