ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อูกโน (มิเล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
{{ภาพวาด| image_file=Sir John Everett Millais. A Huguenot, on St. Bartholomew's Day Refusing to Shield Himself from Danger by Wearing the Roman Catholic Badge..jpg
| title=อูเกอโนท์กโน
| etitle=A Huguenot
| artist=[[จอห์น เอเวอเรทท์เวอเรตต์ มิเลส์เล]]
| year=[[ค.ศ. 1852]]
| type= [[จิตรกรรมสีน้ำมัน|จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้าใบ]]
บรรทัด 10:
| museum= งานสะสมส่วนบุคคล}}
 
'''อูเกอโนท์กโนในวันเซนต์บาบาร์โทโลมิว ไม่ยอมป้องกันตัวเองโดยการติดตราโรมันคาทอลิก''' หรือ '''อูเกอโนท์กโนในวันเซนต์บาบาร์โทโลมิว''' หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า '''อูเกอโนท์''' (({{lang-en|A Huguenot, on St. Bartholomew's Day, Refusing to Shield Himself from Danger by Wearing the Roman Catholic Badge}}) หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า '''อูกโน''' หรือ {{lang|en|A Huguenot}}) เป็น[[ภาพเขียนสีน้ำมัน]]ที่เขียนโดย[[จอห์น เอเวอเรทท์เวอเรตต์ มิเลส์เล]] จิตรกรสมัย[[ศิลปะพรีกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลไลท์|พรีราฟาเอลไลท์]]ชาวอังกฤษคนสำคัญชาวอังกฤษที่เขียนเสร็จในปี [[ค.ศ. 1852]] ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคล
 
"อูเกอโนท์”กโน" เป็นภาพของคู่หนุ่มสามที่กำลังจะลาจากกันขณะที่ฝ่ายหญิงดูเหมือนจะพยายามอ้อนวอนให้ฝ่ายชายผูกผ้าขาวที่แขนเพื่อแสดงว่าเป็น[[โรมันคาทอลิก]]เพื่อเลี่ยงการถูกทำร้าย แต่ฝ่ายชายพยายามดึงผ้าขาวออกด้วยมือและแขนข้างเดียวกับที่กอดหญิงสาว เหตุการณ์ในภาพนี้มีอิทธิพลมาจากเหตุการณ์[[การสังหารหมู่วันเซนต์บาบาร์โทโลมิว]]ที่เกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1572]] เมื่อชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ที่เรียกตนเองว่า[[อูเกอโนท์กโน]]ถูกสังหารไปเป็นจำนวนมากในปารีส ซึ่งนำไปสู่การกระทำเช่นเดียวกันทั่วไปในบริเวณอื่นๆอื่น ๆ ของฝรั่งเศส อูเกอโนท์กโนบางคนหลบหนีจากการถูกทำร้ายโดยการผูกผ้าขาวที่แขนว่าเป็นโรมันคาทอลิก
 
เมื่อเริ่มวาดมิเลส์เลก็เพียงแต่จะวาดภาพคู่รัก แต่[[วิลเลียม โฮลแมน ฮันท์]] ศิลปินร่วมกลุ่มติว่าออกจะเป็นหัวเรื่องที่ดาด หลังจากที่ได้ชมอุปรากร "[[เลอ อูเกอโนท์เลอูกโน]]" (Les Huguenots) โดย[[จิอาโคจาโกโม ไมเยอร์เบียร์ไมเออร์เบร์]] (Giacomo Meyerbeer) ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการสังหารหมู่แล้ว มิเลส์เลก็เปลี่ยนหัวข้อภาพให้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ว่า ในอุปรากรตัวละครวาเล็นไทน์วาเลนไทน์พยายามอ้อนวอนให้ราฟาเอลผูกผ้าขาวแต่ไม่สำเร็จ<ref name="Tate Gallery 1984, p.99">Tate Gallery, ''The Pre-Raphaelites'', 1984, p.99</ref> การเลือกหัวข้อที่สนับสนุนฝ่ายโปรเตสแตนต์ก็มีความสำคัญต่อทัศนคติต่อกลุ่มพรีนิยมแบบก่อนราฟาเอลไลท์ ผู้ก่อนหน้านั้นถูกโจมตีว่ามีความเห็นอกเห็นใจใน[[ขบวนการอ๊อกซฟอร์ดออกซฟอร์ด]] (Oxford Movement) และโรมันคาทอลิก<ref>Alastair Grieve, ''The Pre-Raphaelite Brotherhood and the Anglican High Church'', "The Burlington Magazine", Vol. 111, No. 794 (May, 1969), pp. 292+294-295</ref>
 
ดอกไม้ที่เลือกใช้ในภาพอาจจะเป็นเพราะความสนใจใน[[ภาษาดอกไม้]]คือการใช้ดอกไม้ในการสื่อความหมายใน[[สมัยวิคตอเรียวิกตอเรีย]] เช่นดอก[[แคนเตอร์บรีเบลล์]]สีน้ำเงินทางซ้ายซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความศรัทธาและความแน่วแน่<ref name="Tate Gallery 1984, p.99"/>
 
"อูเกอโนท์”กโน" ตั้งแสดงพร้อมกับภาพ "[[โอฟิเลีย (มิเลส์เล)|โอฟิเลีย]]" ที่[[ราชสถาบันศิลปะ]] ในปี [[ค.ศ. 1852]] ช่วยเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อกลุ่มพรีราฟาเอลไลท์ [[ทอม เทย์เลอร์]] (Tom Taylor) เขียนสรรเสริญเป็นอย่างดีในบทวิจารณ์ในนิตยสาร "[[พันช์ (นิตยสาร)|พันช์]]" (Punch) ภาพได้รับการแกะเป็นภาพพิมพ์ซึ่งกลายเป็นงานชิ้นแรกที่มิเลส์เลประสบความสำเร็จและได้รับความนิยม ซึ่งทำให้มิเลส์เลไปสร้างงานเขียนในหัวข้อที่คล้ายคลึงกันต่อมาอีกหลายภาพ
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 24:
 
==ดูเพิ่ม==
*[[จอห์น เอเวอเรทท์เวอเรตต์ มิเลส์เล]]
*[[อูเกอโนท์กโน]]
 
{{Paintings by John Everett Millais }}
{{จิตรกรรมตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|อูเกอโนท์กโน}}
[[หมวดหมู่:จอห์น เอเวอเรทท์ มิเลส์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1850]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมยุคพรีราฟาเอลไลท์]]