ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขีดจำกัดจันทรเศขร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero ย้ายหน้า ขีดจำกัดจันทรสิกขา ไปยัง ขีดจำกัดจันทรเศขร ทับหน้าเปลี่ยนทาง
แทนที่ "ขีดจำกัดจันทรสิกขา" → "ขีดจำกัดจันทรเศขร" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
'''ขีดจำกัดจันทรสิกขาทรเศขร''' ({{lang-en|Chandrasekhar limit}}) คือค่าจำกัดของ[[มวล]]ของวัตถุที่เกิดจาก[[สสารเสื่อมอิเล็กตรอน]] ซึ่งเป็นสสารหนาแน่นสูงประกอบด้วย[[นิวเคลียส]]ที่อัดแน่นอยู่ในย่าน[[อิเล็กตรอน]] ขีดจำกัดนี้คือค่าสูงสุดของ[[มวล]]ของดาวที่ไม่หมุนรอบตัวเองที่สามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่แตกสลายจากผลของ[[แรงโน้มถ่วง]] โดยอาศัยแรงดันจาก electron degeneracy ชื่อของขีดจำกัดนี้ตั้งตามนามสกุลของนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์คือ [[สุพรหมัณยัน จันทรเศขร]] มีค่าโดยทั่วไปอยู่ที่ประมาณ 1.4 เท่าของ[[มวลดวงอาทิตย์]]<ref>p. 55, How A Supernova Explodes, Hans A. Bethe and Gerald Brown, pp. 51–62 in ''Formation And Evolution of Black Holes in the Galaxy: Selected Papers with Commentary'', Hans Albrecht Bethe, Gerald Edward Brown, and Chang-Hwan Lee, River Edge, NJ: World Scientific: 2003. ISBN 981238250X.</ref><ref>{{cite journal
| author = Mazzali, P. A.; K. Röpke, F. K.; Benetti, S.; Hillebrandt, W.
| title = A Common Explosion Mechanism for Type Ia Supernovae
บรรทัด 5:
| issue = 5813 | pages=825–828
| doi = 10.1126/science.1136259
| pmid = 17289993 }}</ref> [[ดาวแคระขาว]]เป็นดาวที่ประกอบขึ้นด้วยสสารเสื่อมอิเล็กตรอน ดังนั้นจึงไม่มีดาวแคระขาวที่ไม่หมุนรอบตัวเองดวงไหนจะมีมวลมากไปกว่าขีดจำกัดจันทรสิกขาได้ทรเศขรได้
 
โดยปกติแล้ว [[ดาวฤกษ์]]จะสร้างพลังงานขึ้นจาก[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น]] ทำให้ธาตุมวลเบาเปลี่ยนไปเป็นธาตุหนัก ความร้อนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้ช่วยต้านทานการยุบตัวเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดาวฤกษ์ไว้ เมื่อเวลาผ่านไป ดาวฤกษ์จะเผาผลาญธาตุในแกนกลางของตัวเองไปจนกระทั่งอุณหภูมิในใจกลางไม่สูงพอจะดำรงปฏิกิริยาไว้อีกต่อไป ดาวฤกษ์ใน[[แถบลำดับหลัก]]ที่มีมวลน้อยกว่า 8 เท่าของมวลดวงอาทิตย์จะคงเหลือมวลในแกนกลางต่ำกว่าขีดจำกัดจันทรสิกขาทรเศขร มันจะสูญเสียมวลออกไป (เช่นใน[[เนบิวลาดาวเคราะห์]]) จนเหลือแต่แกนดาว และกลายไปเป็น[[ดาวแคระขาว]] ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่านั้นจะเหลือแกนของดาวที่มีมวลมากกว่าขีดจำกัดนี้ และจะระเบิดออกกลายเป็น[[ซูเปอร์โนวา]] ผลลัพธ์ที่ได้คือ[[ดาวนิวตรอน]]หรือ[[หลุมดำ]]<ref name="ifmr1">[http://adsabs.harvard.edu/abs/1996A%26A...313..810K White dwarfs in open clusters. VIII. NGC 2516: a test for the mass-radius and initial-final mass relations], D. Koester and D. Reimers, ''Astronomy and Astrophysics'' '''313''' (1996), pp. 810–814.</ref><ref name="ifmr2">[http://adsabs.harvard.edu/abs/2004ApJ...615L..49W An Empirical Initial-Final Mass Relation from Hot, Massive White Dwarfs in NGC 2168 (M35)], Kurtis A. Williams, M. Bolte, and Detlev Koester, ''Astrophysical Journal'' '''615''', #1 (2004), pp. L49–L52; also [http://arxiv.org/abs/astro-ph/0409447 arXiv astro-ph/0409447].</ref><ref name="evo">[http://adsabs.harvard.edu/abs/2003ApJ...591..288H How Massive Single Stars End Their Life], A. Heger, C. L. Fryer, S. E. Woosley, N. Langer, and D. H. Hartmann, ''Astrophysical Journal'' '''591''', #1 (2003), pp. 288–300.</ref>
 
การคำนวณค่าขีดจำกัดขึ้นกับการใช้ค่าประมาณการ ค่าส่วนประกอบนิวเคลียร์ของมวล และอุณหภูมิ<ref name="timmes">[http://adsabs.harvard.edu/abs/1996ApJ...457..834T The Neutron Star and Black Hole Initial Mass Function], F. X. Timmes, S. E. Woosley, and Thomas A. Weaver, ''Astrophysical Journal'' '''457''' ([[February 1]], [[1996]]), pp. 834–843.</ref> จันทรสิกขาคำนวณไว้ดังนี้<ref name="chandra1">[http://adsabs.harvard.edu/abs/1931MNRAS..91..456C The Highly Collapsed Configurations of a Stellar Mass], S. Chandrasekhar, ''Monthly Notices of the Royal Astronomical Society'' '''91''' (1931), 456–466.</ref><sup>, eq. (36),</sup><ref name="chandra2">[http://adsabs.harvard.edu/abs/1935MNRAS..95..207C The Highly Collapsed Configurations of a Stellar Mass (second paper)], S. Chandrasekhar, ''Monthly Notices of the Royal Astronomical Society'', '''95''' (1935), pp. 207--225.</ref><sup>, eq. (58),</sup><ref name="chandranobel">[http://nobelprize.org/nobel_prizes/physics/laureates/1983/chandrasekhar-lecture.pdf ''On Stars, Their Evolution and Their Stability''], Nobel Prize lecture, Subrahmanyan Chandrasekhar, December 8, 1983.</ref><sup>, eq. (43) </sup>