ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คันทวย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 10:
คันทวย ทางภาคเหนือ จะเรียกทวยหูช้าง มีลักษณะเป็นแผ่นไม้รูปสามเหลี่ยมติดกับเสาหรือผนัง บนแผ่นไม้มีการสลักลายหรือลายฉลุโปร่ง เป็นรูปนาค ลายดอกไม้ หรือลายต่าง ๆ ตามแต่การออกแบบ
 
สัดส่วนที่สวยงามของคันทวย คือ 4 คูณ 6 หรือ 4 คูณ 7 หรือ 4 คูณ 8 (4 คือส่วนกว้าง 6 7 และ 8 คือส่วนสูง)
 
=== สถาปัตยกรรมจีน ===
สถาปัตยกรรมของ[[ประเทศจีน]] ตามธรรมเนียมการก่อสร้างของจีนจะเรียกคันทวยว่า “dougong” ซึ่งใช้กันมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล
 
== คันทวยในสถาปัตยกรรมตะวันตก ==
[[ไฟล์:Architecture-corbels.jpg|thumb|170px|right|คันทวยแบบ[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน|ฟื้นฟูกรีกโรมัน]]ภายใต้ระเบียงที่เมืองอินเดียแนโพลิส [[รัฐอินดีแอนา]]]]
[[ไฟล์:Kilpeck hound & hare corbel.jpg|thumb|170px|คันทวย[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]
ที่คิลเพ็ค (Kilpeck) [[อังกฤษ]] เป็นรูปหมาและกระต่าย]]
คำว่า คันทวย ใน[[สถาปัตยกรรมตะวันตก]] คือก้อนหินหรือที่ยื่นออกมาจากผนังหรือกำแพงเพื่อรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างที่ยื่นออกมา ถ้าเป็นทวยไม้ก็จะเรียกว่า “tassel” หรือ “bragger” การใช้คันทวยเริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์แต่มานิยมกันใน[[ยุคกลาง]]และสถาปัตยกรรมขุนนาง[[สกอตแลนด์]]
 
คำว่า “corbel” มาจาก[[ภาษาฝรั่งเศส]]เก่าซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]] “corbellus” แปลว่า[[นกกา|กา]] (นก) แปลงมาจากคำว่า “corvus” ซึ่งหมายถึงลักษณะจงอยปากนก ฉะนั้นฝรั่งเศสจึงเรียกคันทวยว่า “corbeau” ซึ่งแปลว่า[[นกกา]] และ “cul-de-lampe” สำหรับคันทวยที่อยู่ภายนอกอาคารที่ใช้รองรับหลังคา หรือ “modillon” สำหรับคันทวยที่รองรับน้ำหนักภายในสิ่งก่อสร้าง
 
=== การใช้คันทวยในการตกแต่ง ===
บรรทัด 32:
 
=== ฐานคันทวย ===
'''ฐานคันทวย''' (corbel table) คือบัวแนวคันทวยที่ยื่นออกมาซึ่งมักจะใช้รองรับรางน้ำ แต่บริเวณ[[ลอมบาร์ดึ]]ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลีจะใช้ฐานคันทวยเป็นเครื่องตกแต่งสิ่งก่อสร้างเช่นใช้แบ่งสิ่งก่อสร้างเป็นชั้นๆ หรือตกแต่งกำแพงที่ว่างเปล่า
 
การใช้ฐานคันทวยในประเทศอิตาลีหรือฝรั่งเศสมักจะทำกันอย่างซับซ้อนบางครั้งก็จะเป็นคันทวยซ้อนกันหลายชั้นเช่นในการทำฐานรับเชิงเทินบนป้อม (machicolation) ของปราสาททั้งในอังกฤษและฝรั่งเศส
บรรทัด 39:
 
== อ้างอิง ==
* สมคิด จิระทัศนกุล '''วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย '''โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-600-681-9
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คันทวย"