ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Roadrunner supercomputer HiRes.jpg|thumb|[[ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์]] - [[ซูเปอร์คอมพิวเตอร์]]ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดย[[ไอบีเอ็ม]]และ[[สถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส]] (2551) <ref>[http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer] จากซีเอ็นเอ็น</ref>]]
 
'''คอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|computer}}) หรือใน[[ภาษาไทย]]ว่า '''คณิตกรณ์'''<ref>[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1902 ศัพท์ที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติและไม่ได้บัญญัติ (๒) โดย รศ. ดร.นิตยา กาญจนะวรรณ]</ref><ref>[http://www.neutron.rmutphysics.com/science-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=2062&Itemid=7 ศัพท์วิทยาศาสตร์ราชมงคล]</ref> เป็น[[เครื่องจักร]]แบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย
 
คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วย[[ความจำคอมพิวเตอร์|ความจำ]]รูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึด[[สารสนเทศ]]ที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป
บรรทัด 17:
 
=== คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจำกัด ===
ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคำนวณโดยอัตโนมัติ กับการคำนวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้างวิธีการทำงานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคำนวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความสอดคล้องกัน อุปกรณ์บางชนิดก็มีความสำคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคำนวณบางชนิดที่ประสบความสำเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมี[[เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์]] อาทิ[[ลูกคิด]]ของชาว[[สุเมเรียน]]ที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อนคริสตกาล<ref>* {{cite book | ref = IFRAH | last = Ifrah | first = Georges | year = 2001 | title = The Universal History of Computing: From the Abacus to the Quantum Computer | publication-place = New York | publisher=John Wiley & Sons | isbn = 0471396710}} From 2700 to 2300 BC, [[#IFRAH|Georges Ifrah]], pp.11</ref> ชนะการแข่งขันความเร็วในการคำนวณต่อเครื่องคำนวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น<ref>{{cite book | ref = BERK | last = Berkeley | first = Edmund | year = 1949 |pages=19 | title = Giant Brains, or Machines That Think | publisher=John Wiley & Sons}} [[#BERK|Edmund Berkeley]]</ref> ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์[[สไลด์รูล]] ซึ่งถูกนำขึ้นยานอวกาศในภารกิจของ[[โครงการอะพอลโล]]ถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่สำรวจดวงจันทร์ด้วย<ref>According to advertising on Pickett's N600 slide rule boxes.{{cite web|url=http://copland.udel.edu/~mm/sliderule/lem/|title=Pickett Apollo Box Scans|publisher=Copland.udel.edu|date=|accessdate=2010-02-20}}</ref> นอกจากนี้ยังมี [[เครื่องทำนายตำแหน่งดาวฤกษ์]] (Astrolabe) และ [[กลไกอันติคือเธรา]] ซึ่งเป็นเครื่องคำนวณ (คอมพิวเตอร์) เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 ปีก่อนคริสตกาล<ref>{{cite news| url=http://www.nytimes.com/2008/07/31/science/31computer.html?hp | work=The New York Times | title=Discovering How Greeks Computed in 100 B.C. | date=31 July 2008 | accessdate=27 March 2010}}</ref> ที่มาของระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ [[ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย]] (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความยาว 10 นาที และทำงานโดยมีกลไกเชือกและอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่งสามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉากใดและเมื่อใด<ref>{{cite web| url=http://www.mlahanas.de/Greeks/HeronAlexandria2.htm| title=Heron of Alexandria| accessdate=2008-01-15}}</ref>
 
ราวๆ ปลายศตวรรษที่ 10 [[สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2]] นักบวชชาวฝรั่งเศส ได้นำลิ้นชักบรรจุอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคำถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อถูกถามคำถาม (ด้วยเลขฐานสอง)<ref name=Felt-8>{{cite book|last=Felt|first=Dorr E.|title=Mechanical arithmetic, or The history of the counting machine|year=1916|publisher=Washington Institute|location=Chicago|pages=8|url=http://www.archive.org/details/mechanicalarithm00feltrich}} [[Dorr E. Felt]]</ref> ซึ่งชาวมัวร์ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญ[[อัลแบร์ตุส มาญุส]] และ[[โรเจอร์ เบคอน]] นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์[[แอนดรอยด์]] (android) พูดได้ โดยไม่ได้พัฒนาใดๆ ต่ออีก (นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อนักบุญ[[โทมัส อควีนาส]]ตกใจกับเครื่องนี้และได้ทำลายมันเสีย) <ref>{{Cite journal|title=Speaking machines| journal=The parlour review, Philadelphia|volume=1|issue=3|date=January 20, 1838|url=http://books.google.co.uk/books?id=Xt4PAAAAYAAJ&pg=PT38&dq=the+parlour+review+january+1838&hl=en&ei=0yqzTN3kLMTHswa2wMjSDQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CCsQ6AEwAA#v=onepage&q&f=false|accessdate=October 11, 2010}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1642 แห่ง[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]] มีการประดิษฐ์เครื่อง[[คำนวณของปาสคาล]]ซึ่งเป็น[[เครื่องคำนวณตัวเลขเชิงกล]]<ref name=Felt-10>{{cite book|last=Felt|first=Dorr E.|title=Mechanical arithmetic, or The history of the counting machine|year=1916|publisher=Washington Institute|location=Chicago|pages=10|url=http://www.archive.org/details/mechanicalarithm00feltrich}} [[Dorr E. Felt]]</ref> เป็นอุปกรณ์ที่จะสามารถคำนวณโดยใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่งสติปัญญามนุษย์<ref>"Pascal and Leibnitz, in the seventeenth century, and Diderot at a later period, endeavored to construct a machine which might serve as a substitute for human intelligence in the combination of figures" [http://books.google.fr/books?id=Rf0IAAAAIAAJ&pg=PA100&dq=arithmometer&as_brr=1#v=onepage&q=arithmometer&f=false The Gentleman's magazine, Volume 202, p.100]</ref> เครื่องคำนวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคำนวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น<ref>Babbage's [[Difference engine]] in 1823 and his [[Analytical engine]] in the mid 1830s</ref> ซึ่งทฤษฎีนี้ถูกสร้างโดย[[ชาร์ลส แบบเบจ]]<ref>"It is reasonable to inquire, therefore, whether it is possible to devise a machine which will do for mathematical computation what the automatic lathe has done for engineering. The first suggestion that such a machine could be made came more than a hundred years ago from the mathematician Charles Babbage. Babbage's ideas have only been properly appreciated in the last ten years, but we now realize that he understood clearly all the fundamental principles which are embodied in modern digital computers" ''Faster than thought'', edited by B. V. Bowden, 1953, Pitman publishing corporation
</ref><ref>"...Among this extraordinary galaxy of talent Charles Babbage appears to be one of the most remarkable of all. Most of his life he spent in an entirely unsuccessful attempt to make a machine which was regarded by his contemporaries as utterly preposterous, and his efforts were regarded as futile, time-consuming and absurd. In the last decade or so we have learnt how his ideas can be embodied in a modern digital computer. He understood more about the logic of these machines than anyone else in the world had learned until after the end of the last war" Foreword, ''Irascible Genius, Charles Babbage, inventor'' by Maboth Moseley, 1964, London, Hutchinson</ref> และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา<ref>In the proposal that Aiken gave IBM in 1937 while requesting funding for the [[Harvard Mark I]] we can read: "Few '''calculating machines''' have been designed strictly for application to scientific investigations, the notable exceptions being those of Charles Babbage and others who followed him....After abandoning the difference engine, Babbage devoted his energy to the design and construction of an analytical engine of far higher powers than the difference engine....Since the time of Babbage, the development of '''calculating machinery''' has continued at an increasing rate." [[Howard Aiken]], ''Proposed automatic calculating machine'', reprinted in: The origins of Digital computers, Selected Papers, Edited by Brian Randell, 1973, ISBN 3-540-06169-X</ref> นำไปสู่การพัฒนาเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน [[อินเทล]] ก็สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และเป็นหัวใจสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คำนึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์<ref>"Parallel processors composed of these high-performance microprocessors are becoming the supercomputing technology of choice for scientific and engineering applications", 1993, {{cite web|title=Microprocessors: From Desktops to Supercomputers|url=http://www.sciencemag.org/content/261/5123/864.abstract|publisher=Science Magazine|accessdate=2011-04-23}}</ref> ขึ้นได้โดยบังเอิญ<ref>[http://www.intel.com/about/companyinfo/museum/exhibits/4004/index.htm Intel Museum - The 4004, Big deal then, Big deal now]</ref> ระหว่างการพัฒนาเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ [[บิซิคอม]] ที่พัฒนาสืบต่อจากเครื่องคำนวณเชิงกลโดยตรง
 
{{โครง}}
บรรทัด 57:
== ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ==
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น
# '''การใช้งานภาครัฐ''' งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทำบัตรประจำตัวประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษี[[ภาษี]]ผ่าน[[อินเทอร์เน็ต]] เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบการเสียภาษี
# '''งานสายการบิน''' การสำรองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
# '''ทางด้านการศึกษา''' สื่อ[[คอมพิวเตอร์ช่วยสอน]] การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
# '''ธุรกิจการนำเข้าสินค้าและส่งออก''' การทำธุรกิจแบบ[[พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์]]
# '''ธุรกิจธนาคาร''' ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทำ[[ธุรกรรม]]ผ่าน[[โทรศัพท์มือถือ]]
# '''[[วิทยาศาสตร์]]และการแพทย์''' การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้ วิจัย คำนวณ และ การจำลองแบบ
# '''งาน[[สถาปนิก]]''' ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทำแบบจำลองสามมิติ
# '''งาน[[ภาพยนตร์]] การ์ตูน [[แอนิเมชัน]]''' ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จำลองตัวการ์ตูนสามมิติ การตัดต่อภาพยนตร์
บรรทัด 75:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.school.net.th/library/snet1/ ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์] จาก SchoolNet คลังความรู้บนเว็บ รวม ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ประวัติ สารสนเทศ และ สถาปัตยกรรมไมโครโปรเซสเซอร์
* [http://www.nectec.or.th/courseware/computer/ ความรู้เกี่ยวพร้อมประวัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์] จากเนคเทค
* [http://www.ccscom.net ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์] ซีซีเอสคอม