138,643
การแก้ไข
ล (เก็บกวาด) |
ล (เก็บกวาด) |
||
{{ดูเพิ่มที่|การสูญพันธุ์}}
การตายเป็นกระบวนการสำคัญของ ทฤษฎี[[การคัดเลือกโดยธรรมชาติ]] '' (Natural Selection) '' ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างมากได้ มีความเสี่ยงที่จะตายสูง หรือขยายพันธุ์ได้น้อย ทำให้ยีนส์ของสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นๆ ลดจำนวนลง ซึ่งยีนส์ที่อ่อนแอจะนำไปสู่การลดจำนวนลงอย่างมาก ของประชากรสิ่งมีชีวิตนั้นๆ อันนำไปสู่การสูญพันธุ์ในที่สุด
การสูญพันธุ์ คือ การหยุดชะงักของการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตสปีชี่ส์นั้นๆ และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตจะลดลง ช่วงเวลาของการสูญพันธุ์มักหมายถึง สิ่งมีชีวิตตัวสุดท้ายของ[[สปีชีส์]]นั้นตาย ซึ่งความสามารถในการแพร่พันธุ์อาจสูญไปก่อนที่สูญพันธุ์ก็ได้ แต่เนื่องจากว่าสิ่งมีชีวิตนั้นมีจำนวนที่มาก และขนาดค่อนข้างกว้าง การจะระบุว่าสิ่งมีชีวิตใดสูญพันธุ์แล้ว อาจมีความผิดพลาดได้ ในบางกรณีมีการพบสิ่งมีชีวิตที่ประกาศว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว หลังจากที่มันไม่พบเห็นมาเป็นเวลานาน
วิวัฒนาการทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ๆ ซึ่งสามารถเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า ส่วนสายพันธุ์ที่อ่อนแอจะไม่สามมารถดำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้ ต้องสูญพันธุ์ไป อย่างเช่น ยีราฟกับต้นไม้ที่เป็นอาหารของมัน
== การตายทางการแพทย์ ==
{{ดูเพิ่มที่|ภาวะสมองตาย}}
ทางการแพทย์ถือว่าบุคคลเสียชีวิตแล้วโดยวัดจาก[[คลื่นสมอง]] แม้ว่ายังมี[[การหายใจ]] หรือ[[หัวใจ]]ยังเต้นอยู่
แต่จากการศึกษาเนื่อเยื่อหัวใจที่ขาดออกซิเจนด้วยกล้องจุลทรรศน์ '' (microscope) '' พบว่าหลังจากขาดออกซิเจนไปถึง 1 ชั่วโมง ยังไม่พบว่าเซลล์เนื้อเยื่อหัวใจตาย เซลล์เนื้อเยื่อหัวใจที่ขาดเลือดหล่อเลี้ยงจะตายในเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ซึ่งค้านกับความเชื่อเดิมที่ว่าหากขาดออกซิเจน 4-5 นาทีก็จะหมดโอกาสรอด แต่อันที่จริงแพทย์ก็ไม่สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยที่ขาดออกซิเจนเกิน 5 นาทีได้ ถึงแม้ว่าเซลล์เนื่อเยื่อหัวใจจะยังไม่ตายก็ตาม
เพื่อหานิยามของการตายที่สมบูรณ์ นักวิจัยได้พยายามมองลึกเข้าไปถึงระดับเซลล์ โดยดูที่[[ไมโทคอนเดรีย]] ซึ่งเป็นอวัยวะของเซลล์ มีหน้าที่ในการสร้างพลังงานให้เซลล์ และควบคุมกระบวนการอะพอพโทซิส '' (apoptosis) ''
== การตายระดับเซลล์ ==
[[ไฟล์:Rembrandt Harmensz. van Rijn 007.jpg|thumb|right|250px|ภาพวาดการชันสูตรศพ]]
[[การชันสูตรพลิกศพ]] '' (Autopsy) '' เป็นกระบวนการทางการแพทย์ ที่จะสำรวจศพของมนุษย์เพื่อหาสาเหตุการตายที่แท้จริง โดยจะระบุเหตุผลของสาเหตุการตาย ซึ่งจะต้องกระทำโดยผู้เชี่ยวชาญ การชันสูตรมีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง ในการสืบสวนเกี่ยวกับคดีฆาตกรรม หรือการพิสูจน์ศพที่มีการตายที่ผิดปกติ หรือสงสัยว่าตายอย่างผิดปกติ เพราะการตายหลายสาเหตุ ถูกจัดฉากให้ดูเหมือนการตายตามธรรมชาติ หรือภาวะโรคประประจำตัว
การชันสูตรยังเป็นการยืนยันการตาย อันมีสาเหตุมาจากการรักษาที่ผิดพลาดของแพทย์ได้อีกด้วย ในกรณีที่แพทย์ประมาทเลินเล่อ เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต หากไม่มีการชันสูตรศพ ก็จะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเป็นความผิดของแพทย์ผู้รักษา การชันสูตรสามารถเปิดเผยถึงเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิด ทั้งยังมีส่วนสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์อีกด้วย
== การฆ่าตัวตาย ==
{| class="wikitable" align = "left" style="margin-left; margin-right:1em: 0px;"
|+ '''สถิติประเทศที่มีการฆ่าตัวตาย ในอัตรา 100,000 คนต่อปี '''
|-
! ประเทศ || ปี || ผู้ชาย || ผู้หญิง
|-
| {{LTU}} || 2005 || 68.1 || 12.9
|-
| {{BLR}} || 2003 || 63.3 || 10.3
|-
| {{RUS}} || 2004 || 61.6 || 10.7
|-
| {{KAZ}} || 2003 || 51.0 || 8.9
|-
| {{SVN}} || 2003 || 45.0 || 12.0
|-
| {{HUN}} || 2003 || 44.9 || 12.0
|-
| {{LVA}} || 2004 || 42.9 || 8.5
|-
| {{JPN}} || 2004 || 35.6 || 12.8
|-
| {{UKR}} || 2004 || 43.0 || 7.3
|-
|}
{| class="wikitable"
|- bgcolor="#ebf5ff"
! คำ
! ใช้แก่
|- bgcolor="#ebf5ff"
|-
| | '''สวรรคต''',<br />'''เสด็จสวรรคต'''
| | 1. พระมหากษัตริย์<br />
2. สมเด็จพระบรมราชินีนาถ<br />
3. สมเด็จพระบรมราชินี<br />
6. สมเด็จพระยุพราช<br />7. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร<br />8. สมเด็จพระบรมราชกุมารี<br />9. เจ้าฟ้าที่ได้รับการเฉลิมพระยศพิเศษให้ทรงฉัตร 7 ชั้น
|-
| | '''ทิวงคต'''
| | 1. พระมหากษัตริย์ต่างประเทศ<br />
2. กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (เฉพาะที่ไม่ได้สถาปนาเฉลิมพระยศขึ้นเป็น "สมเด็จพระบวรราชเจ้า") <br />
3. เจ้าฟ้าซึ่งได้รับการเฉลิมพระยศพิเศษ แต่ยังคงทรงฉัตร 5 ชั้น
|-
| | '''สิ้นพระชนม์'''
| | 1. พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้าลงมาถึงพระองค์เจ้า<br />
2. สมเด็จพระสังฆราชเจ้า<br />
3. สมเด็จพระสังฆราช
|-
| | '''ถึงชีพิตักษัย,'''<br />'''สิ้นชีพิตักษัย'''
| | 1. หม่อมเจ้า
|-
| | '''ถึงแก่พิราลัย'''
| | 1. เจ้าประเทศราช<br />
2. สมเด็จเจ้าพระยา
|-
| | '''มรณภาพ'''
| | 1. ภิกษุ<br />
2. สามเณร
|-
| | '''ถึงแก่อสัญกรรม'''
| | 1. ประธานองคมนตรี<br />
2. องคมนตรี<br />
3. ประธานวุฒิสภา (ผู้ตายในขณะดำรงตำแหน่ง) <br />
9. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า
|-
| | '''ถึงแก่อนิจกรรม'''
| | 1. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
|-
| | '''ถึงแก่กรรม,'''<br />'''ตาย'''
| | สุภาพชนทั่วไป
|-
|}
|