ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครูสมศรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ภาพยนตร์
| name = ครูสมศรี
| image = ครูสมศรี.jpg
| caption = ปกดีวีดี
| director = [[หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล]]
| producer =
| writer = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| narrator =
| starring = [[ชาลิตา ปัทมพันธ์]]<br>[[รณ ฤทธิชัย]]<br>[[สมชาย อาสนจินดา]]<br>[[ชลิต เฟื่องอารมย์]]<br> [[เศรษฐา ศิระฉายา]]<br>ภูมิ พัฒนยุทธ<br>[[ครรชิต ขวัญประชา]]
| music =
| cinematography = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| editing = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| distributor = วีซี โปรดักชั่นแอนด์พิคเจอร์<br>พร้อมมิตรภาพยนตร์
| released = 11 มกราคม พ.ศ. 2528<br>ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา
| runtime = 117 นาที
| country = ไทย
| language = ไทย
| budget =
| gross =
| gross preceded_by =
| preceded_by followed_by =
| followed_by website =
| website amg_id =
| amg_id imdb_id =
| imdb_id thaifilmdb_id = 0193
| thaifilmdb_id siamzone_id = 0193
| siamzone_id =
}}
 
บรรทัด 32:
ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาว[[ชุมชนแออัด]] ในตรอก[[ศาลเจ้าพ่อเสือ]] ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ
 
ภาพยนตร์ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) โดยรณ ฤทธิชัย ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ]] ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน
 
ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย [[เป่า จิน จง]] ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย [[สุจิรา อรุณพิพัฒน์]], [[นวพล ภูวดล]], เจฟฟรี่ เบญจกุล, [[สรพงษ์ ชาตรี]], [[สุกัญญา มิเกล]]
บรรทัด 82:
}}
 
'''ครูสมศรี''' ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง [[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] โดยค่าย [[เป่า จิน จง]] ในปี พ.ศ. 2546 เป็นบทประพันธ์ของ [[มจ.ชาตรีเฉลิม ยุคล]] บทโทรทัศน์โดย ปัณณ์ สิเนห์ กำกับการแสดงโดย [[ชุติกุล สุตสุนทร]] นักแสดงนำโดย [[สุจิรา อรุณพิพัฒน์]], [[นวพล ภูวดล]], [[เจฟฟรี่ เบญจกุล]], [[สรพงษ์ ชาตรี]], [[สุกัญญา มิเกล]]
 
=== เรื่องย่อ ===
บรรทัด 89:
ทัตเทพ ทวิภาคลูกชาย นายโภคิน ขับรถเฉี่ยว แมงกอย เด็กดอยที่สมศรีเคยเจอตอนไปสอบ แต่ยืนยันว่าแมงกอยวิ่งมาชนรถตัวเองหลังขโมยลูกชิ้น บังเอิญ นิมิต ผ่านจึงพาไปแทน สมศรีรับแมงกอยมาอุปการะ นิมิตเป็นนายตำรวจหนุ่มอุดมการณ์สูงถูกกลั่นแกล้งจนกลายเป็นตำรวจจราจร และต้องหาที่อยู่ใหม่ ได้มาอยู่ที่สลัมคลองคด ทัตเทพเป็นสถาปนิกชุมชนที่ได้มาพัฒนาชุมชนคลองคด เขาถูกวิ่งราวจากแก็ง ยักษ์ บึ๋ง ลวก สมศรีช่วย จับไว้แต่ 3 คนหนีทัน ทัตเทพเข้าใจผิดว่าสมศรีเป็นหัวหน้าแก็งค์ จนทุกคนในชุมชนว่าสมศรีเป็นคนไม่ดี ต่อมาสมศรีได้อุปการะ ใบตอง เด็กเร่ร่อนที่ขึ้นมาขอทานบนรถเมล์จนถูกผลักตกรถ และตี่ เด็กในสลัมที่ยายญาติคนสุดท้ายตายไป
 
สมศรีมองเห็นปัญหาต่างๆ ในชุมชนทั้ง เด็กเร่ร่อน ยาเสพติด บ่อนการพนัน และเงินกู้นอกระบบ จึงลาออกจากการขับรถ มาสอนหนังสือเด็กและพัฒนาชุมชน โดยมีนิมิตคอยช่วย แม้จะมี สุดใจ ช่างตัดเสื้อที่ตามจีบนิมิตคอยขวาง กับ ตาเบี้ยว หัวหน้าชุมชนที่เป็นคนของโภคินๆ คิดจะไล่ที่ทำเป็นเอนเตอร์เทนเม้นท์คอมเพล็กซ์แต่ติดว่าที่ดินติดเป็นที่ดินร้างเกินสิบปี จึงวางแผนให้ชาวสลัมเซ็นสัญญาเช่าแล้ว ที่ดินก็จะตกเป็นของโภคินโดยสมบูรณ์
 
พิมพ์อร คู่หมายทัตเทพไม่พอใจที่ทัตเทพไปชอบสมศรีจึงแกล้งมาทำดีช่วยชาวสลัมแต่แล้วเอาข้อมูลไปโภคิน ทัตเทพไม่เคยรู้เบื้องหลังพ่อจนแอบได้ยินคุยกับลูกน้อง ทัตเทพพยายามเข้ามาช่วยคนในชุมชนแต่ถูกกีดกัน พวกเข้าร่วมขบวนการเริ่มตายไปที่ละคนชาวบ้านเริ่มถอดใจ เปิ่นซึ่งทำงานจนเรียนจบทนายมาเป็นทนายให้ชาวบ้าน โภคินส่งคนมาทำลายโรงเรียน ชาวบ้านช่วยกันสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ วันเปิดโรงเรียนพบศพสมศรีถูกเผาจนจำไม่ได้มีเพียงกำไลเงินของแมงกอยเคยให้ไว้เป็นหลักฐาน การตายของสมศรีทำให้เด็กๆ ตัดสินใจบวชหน้าศพ การตายของครูสมศรีทำให้ ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเองอีกครั้ง