ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันที"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 28:
 
=== ไทย ===
[[ไฟล์:Khantee_SiamKhantee Siam.jpg|thumb|150px|นักเทษขันทีช่วงยุคกรุงศรีอยุธยา โพกศีรษะแต่งกายอย่างแขก]]
ในประเทศไม่พบหลักฐานที่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีร่องรอยที่ทำให้เห็นว่ามีขันทีมาก่อนโดยในสมัย[[อยุธยา]]เรียกขันทีว่า '''นักเทษขันที''' (บ้างเขียน ''นักเทศขันที'') นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ให้ความเห็นว่า ''นักเทษ'' และ ''ขันที'' คงเป็นขุนนางชายที่ถูกตอนเหมือนกัน มีเพียง ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร อธิบายไว้ว่า คือฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ''นักเทษ'' (นักเทศ) นั้นรับราชการฝ่ายขวา ส่วนอีกฝ่ายที่เรียกว่า ''ขันที'' นั้นรับราชการฝ่ายซ้าย มีข้อสันนิษฐานว่าพระมหากษัตริย์ไทยสมัยโบราณให้ขันทีอยู่ในสังกัดของฝ่ายใน และไม่ทรงเปิดโอกาสให้นักเทษขันทีมีส่วนร่วมในราชการฝ่ายหน้า<ref name="เทษ">วินัย ศรีพงศ์เพียร. ''[http://www.gotoknow.org/posts/151017 กะเทย/บั๊ณเฑาะก์/ขันที/นักเทษ]'' . สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556</ref> อย่างไรก็ตามนักเทษขันทียังคงดำรงอยู่จนสิ้น[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref name="เทษ"/> และภายหลังนักเทษขันทีจึงถูกยกเลิกลงในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]]<ref name="เทษ"/>
 
บรรทัด 34:
 
=== พม่า ===
ในพม่าและยะไข่ ขันทีจะมีหน้าที่ในการดูและฝ่ายในและจำทูลพระราชสาสน์<ref name="เทษ"/> นอกจากนี้ชาวมอญก็มีคำเรียกขันทีว่า '''กมฺนุย''' (อ่านว่า ''ก็อมนอย'') แปลโดยศัพท์ว่า "ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทางเพศ"<ref name="เทษ"/>
 
=== เกาหลี ===
บรรทัด 41:
ระบบแนซี จะมีสองระดับคือ '''ซังซ็อน''' ({{lang-ko|상선; ''尙膳''}} "หัวหน้าขันที") รงลงมาคือ '''แน-กวัน''' ({{lang-ko|내관; ''內官''}} "ขันทีพนักงานสามัญ") ทั้งสองตำแหน่งถือว่าสูงกว่าขันที่ทั่วไป ทั้งนี้จะมีเจ้าหน้าที่จำนวน 140 นายประจำอยู่ตามพระราชวัง และขันทีทุกคนจะต้องสอบปรัชญา[[ขงจื๊อ]]ในทุก ๆ เดือน<ref name="Naesi"/> ภายหลังระบบขันทีได้ถูกยกเลิกลงในปี [[พ.ศ. 2437]] หลังเกิด[[การปฏิรูปกาโบ]] ({{lang-ko|갑오 개혁; ''甲午改革''}})
 
ตามตำนานกล่าวไว้เกี่ยวกับการตอนความว่า เบื้องต้นต้องทาอุจจาระของมนุษย์ลงบริเวณอวัยวะเพศของเด็กน้อยแล้วให้สุนัขกัดอวัยวะเพศจนขาด<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=U-fc5X0cUjwC&pg=PA280&dq=Korean+eunuchs,+however,+had+it+worst+of+all.+In+ancient+times+they+were+castrated+by+having+their+genitals+smeared+with+human+feces+and+then+being+exposed+to+packs+of+hungry+dogs#v=onepage&q=Korean%20eunuchs%2C%20however%2C%20had%20it%20worst%20of%20all.%20In%20ancient%20times%20they%20were%20castrated%20by%20having%20their%20genitals%20smeared%20with%20human%20feces%20and%20then%20being%20exposed%20to%20packs%20of%20hungry%20dogs&f=false|title=Manthropology: The Science of Why the Modern Male Is Not the Man He Used to Be|author=Peter McAllister|year=2010|publisher=Macmillan|location=|isbn=0-312-55543-1|page=280|pages=|accessdate=2011-01-11}}</ref> ต่อมาในยุคราชวงศ์[[หยวน]] ขันทีได้กลายเป็นสินค้าชั้นดี และการตอนด้วยสุนัขก็ถูกแทนที่ด้วยเทคนิคการผ่าตัดที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น<ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=S3Y2PTI_vYYC&pg=PA137&dq=korean+castrated+dog+bite#v=onepage&q=korean%20castrated%20dog%20bite&f=false|title=Children in slavery through the ages|author=Gwyn Campbell, Suzanne Miers, Joseph Calder Miller|year=2009|publisher=Ohio University Press|location=|isbn=0-8214-1877-7|page=137|pages=|accessdate=2011-01-11}}</ref>
 
=== เวียดนาม ===
ในยุค[[ราชวงศ์จาง]] ({{lang-vi|Nhà Trần}}; ''陳朝'') ได้ทำการส่งขันทีเด็กชาวเวียดนามเป็นเครื่องบรรณาการแก่จีนในยุค[[ราชวงศ์หมิง]] ในปี [[พ.ศ. 1926]], [[พ.ศ. 1927|1927]] และ [[พ.ศ. 1928|1928]]<ref>Tsai (1996), p. 15 {{Google books|Ka6jNJcX_ygC|The Eunuchs in the Ming Dynasty (Ming Tai Huan Kuan)|page=15}}</ref> และปรากฏหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของขันทีในอดีต นั่นคือบทกวีวิพากษ์วิจารณ์เหล่าขุนนาง ซึ่งถูกรจนาโดยกวีหญิง [[โห่ ซวน เฮือง]] ({{lang-vi|Hồ Xuân Hương}}; ''胡春香'') อันปรากฏเนื้อความตอนหนึ่งล้อเลียนเหล่าขันที<ref>Chandler (1987), p. 129 {{Google books|jzUz9lKn6PEC|In Search of Southeast Asia: A Modern History|page=129}}</ref>
 
=== อินโดนีเซีย ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ขันที"