ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาลโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 9:
เมื่อมองอย่างผิวเผิน กาลโยคเป็นเพียงตารางมีตัวเลขบรรจุอยู่ ดังรูปแบบข้างล่างนี้
{|class="wikitable" style="width:200px, height:150px, text-align:center"
| || ธงชัย || อธิบดี || อุบาทว์ || โลกาวินาศ
|-
| วัน || || || ||
|-
| ยาม || || || ||
|-
| ฤกษ์ || || || ||
|-
| ราศี || || || ||
|-
| ดิถี || || || ||
|}
 
บรรทัด 29:
 
{|class="wikitable" style="width:200px, height:150px, text-align:center"
| || ธงชัย || อธิบดี || อุบาทว์ || โลกาวินาศ
|-
| วัน || 2 || 4 || 3 || 7
|}
 
บรรทัด 65:
* ฐานดิถีเอา 30 หาร เศษเท่าใดเป็นดิถีโลกาวินาศ
 
ถ้าหารแล้วเศษเป็น 0 (หารได้ลงตัว) ก็ให้ยึดจำนวนที่เป็นตัวหารเป็นหลัก ตัวอย่างเช่น ถ้าหารเกณฑ์ธงชัยของวันได้ลงตัว ก็ถือว่าวันธงชัยเป็น 7 '''ยกเว้น''' ราศี ให้คงเป็น 0 เพราะในทางโหราศาสตร์ไทย ราศีที่ 12 ตรงกับราศีที่ 0 พอดี คือราศีเมษ
 
=== ตัวอย่างการคำนวณ ===
พุทธศักราช 2550 คิดเป็นจุลศักราช 1369 (เอา พ.ศ. ลบ 1181 ได้ จ.ศ. หรือเอา ค.ศ ลบ 638 ได้ จ.ศ. เช่นกัน)
 
* หาเกณฑ์ธงชัย เอา (1369 × 10) + 3 = 13693 ลัพธ์เป็นเกณฑ์
* เอาเกณฑ์ธงชัยตั้งลงเป็น 5 ฐาน คือฐานวัน ฐานยาม ฐานฤกษ์ ฐานราศี ฐานดิถี
** ฐานวัน 13693 ÷ 7 = 1956 เศษ 1 (จึงถือว่า 1 เป็นวันธงชัย)
บรรทัด 105:
เมื่อนำมาเขียนเป็นตารางจะได้ดังนี้
{|class="wikitable" style="width:200px, height:150px, text-align:center"
| || ธงชัย || อธิบดี || อุบาทว์ || โลกาวินาศ
|-
| วัน || 1 || 2 || 7 || 4
|-
| ยาม || 5 || 5 || 4 || 1
|-
| ฤกษ์ || 4 || 22 || 3 || 5
|-
| ราศี || 1 || 1 || 0 || 5
|-
| ดิถี || 13 || 13 || 12 || 29
|}
 
บรรทัด 121:
กาลโยค สามารถอ่านได้โดยการดูตัวเลขที่เขียนไว้ในตาราง แล้วตีเป็นความหมาย เช่น วันธงชัยเป็น 1 หมายความว่า วันอาทิตย์เป็นวันธงชัย วันโลกาวินาศเป็น 4 ก็หมายความว่า วันพุธเป็นวันโลกาวินาศ เป็นต้น โดยตัวเลขที่เขียนไว้ในช่องวัน คือตัวเลขที่นับ 1 จากวันอาทิตย์ เพิ่มทีละหนึ่งไปจนถึง 7 คือวันเสาร์
 
ส่วนยามนั้น 1 ยาม มีค่าเท่ากับ 1 ชั่วโมง 30 นาที (ไม่ใช่ 3 ชั่วโมงอย่างที่เข้าใจกัน) เริ่มนับตั้งแต่รุ่งเช้า (6:00 น.) ไปจนถึงย่ำค่ำ (18:00 น.) แล้วนับหนึ่งใหม่ตอนย่ำค่ำไปจนถึงรุ่งเช้า จะได้ภาคละ 8 ยามพอดี ถ้าสมมุติว่า ยามธงชัยคือยามที่ 5 ก็ให้นับจาก 6:00 น. (หรือ 18:00 น.) ไปเรื่อย ๆ เมื่อครบ 1 ชั่วโมง 30 นาที ก็นับเป็นยามสอง... ในที่สุดเราก็จะได้ว่า ยามธงชัยอยู่ในเวลา 12:00 น. - 13:30 น. (หรือ 00:00 น. - 01:30 น.)
 
สำหรับราศี ทางโหราศาสตร์ไทยให้ถือว่า ราศี 0 คือราศีเมษ ให้นับแต่ราศีเมษทีละ 1 ไปจนถึง 11 คือราศีมีน สมมุติว่า ราศี 1 เป็นธงชัย ก็แปลความหมายได้ว่า ราศีพฤษภ เป็นราศีธงชัย
บรรทัด 140:
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ทองย้อย แสงสินชัย, นาวาเอก. พฤศจิกายน 2547. "การอ่านกาลโยค." นาวิกศาสตร์. เข้าถึงได้จาก http://www.navy.mi.th/navic/document/881009a.html (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2550)
* [http://www.mahamodo.com/modo/astrology/astrology2.htm บทความ 'คัมภีร์กาลโยค' โดยมหาหมอดูดอตคอม] (วันที่ค้นข้อมูล : 20 มีนาคม 2550)
{{จบอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กาลโยค"