ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ=การล้อมครั้งอื่น |ดูที่=การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล |เปลี่ยนทาง=}}
{{ใช้ปีคศ|width = 310px}}
{{Infobox Military Conflict
| conflict = การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล
| image = [[ไฟล์:Siege_of_ConstantinopleSiege of Constantinople.jpg|300px|right]]
| caption = ภาพการตีคอนสแตนติโนเปิล เขียนเมื่อ ค.ศ. 1499
| partof = [[สงครามไบแซนไทน์-ออตโตมัน]]<br>และ [[สงครามออตโตมันในยุโรป]]
บรรทัด 9:
| place = [[คอนสแตนติโนเปิล]]
| result = [[จักรวรรดิออตโตมัน]]ได้รับชัยชนะ<br>อย่างเด็ดขาด<ref>
* http://www.geocities.com/Paris/5972/Constantinople.html
* http://www.ellopos.net/elpenor/vasilief/constantine-xi-capture-of-constantinople.asp
* http://www.oikoumene.org/en/resources/documents/general-secretary/visits/archbishop-christodoulos/29-05-06-archbishop-christodoulos-meditation-at-wcc.html</ref><br>การล่มสลายของ[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]<br>[[คอนสแตนติโนเปิล]]เป็นเมืองหลวงของ<br>[[จักรวรรดิออตโตมัน]]
| combatant1 = [[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]
| combatant2 = [[จักรวรรดิออตโตมัน]]
บรรทัด 18:
| strength1 = 7,000 นาย<ref>Sir Steven Runciman - ''The Fall of Constantinople''</ref><br>เรือ 26 ลำ<ref name="Nicolle 2000, p. 45">Nicolle 2000, p.&nbsp;45.</ref>
| strength2 = 80,000<ref>{{cite book|last=Norwich|first=John Julius|title=A Short History of Byzantium|location=New York|publisher= Vintage Books|year=1997|pages=}}</ref>-200,000 นาย<ref name="Pertusi"/><ref>''The Destruction of the Greek Empire,'' Edwin Pears</ref><br/>เรือ 126 ลำ<ref>Nicolle 2000, p.&nbsp;44.</ref>
| casualties1=4,000 killed<ref>Phrantzes, ''The Fall of the Byzantine Empire''</ref>
| casualties1 = 4,000 นาย
| casualties2 = ไม่ทราบจำนวน
บรรทัด 24:
'''การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล''' ({{lang-en|Fall of Constantinople}}) เกิดขึ้นหลังจากที่[[คอนสแตนติโนเปิล]]ถูกล้อมและยึดเมืองได้โดย[[สุลต่านเมห์เมดที่ 2]] แห่ง[[จักรวรรดิออตโตมัน]]จาก[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]ที่นำโดย[[จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11]] การล้อมเริ่มตั้งแต่พฤหัสบดีที่ [[2 เมษายน]] [[ค.ศ. 1453]] และสิ้นสุดลงเมื่อวันอังคารที่ [[29 พฤษภาคม]]ของปีเดียวกัน (ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]]) การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิลเท่ากับเป็นการสิ้นสุดอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่รุ่งเรืองมากว่าพันหนึ่งร้อยปี ที่ขณะนั้นก็เริ่มแตกแยกกันปกครองโดยราชวงศ์กรีกหลายราชวงศ์
 
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของสุลต่านเมห์เมดแล้ว พระองค์ก็ทรงเพิ่มความกดดันต่อ[[คอนสแตนติโนเปิล]]โดยการทรงสร้างเสริมป้อมปราการตามชายฝั่ง[[ช่องแคบดาร์ดาเนลล์ส]] (Dardanelles) เมื่อวันที่ [[2 เมษายน]] พระองค์ก็ทรงเข้าล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลพร้อมด้วยกองทัพราวระหว่าง 80,000 ถึง 200,000 คน ตัวเมืองมีทหารรักษาราว 7,000 คนในจำนวนนั้น 2,000 เป็นชาวต่างประเทศ การล้อมเริ่มต้นด้วยการโจมตีด้วยการยิงกำแพงเมืองอย่างรุนแรงจากฝ่ายออตโตมันขณะที่กองทหารอีกจำนวนหนึ่งไปยึดที่ตั้งมั่นของฝ่ายไบแซนไทน์ในบริเวณนั้น แต่ความพยายามที่ปิดเมืองในระยะแรกโดยฝ่ายออตโตมันไม่ประสบความสำเร็จ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เรือกองหนุนของฝ่ายคริสเตียนสี่ลำเดินทางเข้าไปยังคอนสแตนติโนเปิลได้ สุลต่านเมห์เมดจึงทรงมีพระราชโองการให้นำเรือของพระองค์เข้าไปยังแหลมทอง (Golden Horn) โดยการลากขึ้นไปบนขอนไม้ที่ทำให้ลื่น ความพยายามของฝ่ายไบแซนไทน์ที่จะเผาเรือจึงไม่สำเร็จและสามารถทำให้ฝ่ายออตโตมันในที่สุดก็ปิดเมืองได้
 
การโจมตีกำแพงเมืองของฝ่ายตุรกีได้รับการโต้ตอบอย่างเหนียวแน่นจากฝ่ายไบแซนไทน์ที่ทำให้ต้องเสียกองกำลังไปเป็นจำนวนมาก และความพยายามที่จะระเบิดกำแพงเมืองลงก็ได้รับการตอบโต้เช่นกันจนในที่สุดก็ต้องเลิก สุลต่านเมห์เมดทรงเสนอว่าจะยุติการล้อมเมืองถ้าคอนสแตนติโนเปิลยอมให้พระองค์เข้าเมืองแต่ก็ไม่เป็นผล เมื่อวันที่ [[22 พฤษภาคม]] ก็เกิดจันทรุปราคาที่เป็นลางถึงการเสียเมือง สองสามวันต่อมา[[จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11|จักรพรรดิคอนสแตนติน]]ก็ทรงได้รับข่าวว่าจะไม่มีกองหนุนจาก[[สาธารณรัฐเวนิส]]มาช่วย หลังเที่ยงคืนของวันที่ [[29 พฤษภาคม]]กองทัพออตโตมันก็เข้าโจมตีกำแพงเมือง ระลอกแรกไม่ประสบความสำเร็จ ระลอกสองสามารถเจาะกำแพงทางตอนเหนือได้ แต่ฝ่ายไบแซนไทน์ก็สามารถตีฝ่ายออตโตมันกลับไปได้และสามารถยืนหยัดต่อต้านกองทหารชั้นเอก [[Janissaries]] ของตุรกีได้ ระหว่างการต่อสู้[[จิโอวานนิ จุสติเนียนิ]]นายทัพจาก[[สาธารณรัฐเจนัว|เจนัว]]ก็ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนต้องถอยกลับไปยังเรือกับกองทหารและเสียชีวิตในที่สุด ทางด้านจักรพรรดิคอนสแตนตินพระองค์และกองทหารก็ดำเนินการต่อต้านต่อไปจนกระทั่งฝ่ายตุรกีเปิดประตูเมืองและบุกเข้าไปในเมืองพร้อมกับกองทหารเป็นจำนวนมากได้ กล่าวกันว่าจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงถูกสังหารระหว่างการต่อสู้แต่ก็มิได้พบพระวรกายของพระองค์ จากนั้นฝ่ายตุรกีก็ปล้นเมือง
บรรทัด 36:
 
== บรรณานุกรม ==
* Franz Babinger: ''Mehmed the Conqueror and His Time'' (1992) Princeton University Press ISBN 0-691-01078-1
* [http://www.deremilitari.org/resources/sources/constantinople3.htm The Siege of Constantinople] (1453), according to the eyewitness Nicolo Barbaro
* {{cite book
| last = Murr Nehme
| first = Lina
บรรทัด 46:
| isbn = 2868398162
}}
* Richard A. Fletcher: ''The Cross and the Crescent'' (2005) Penguin Group ISBN 0-14-303481-2
* Jonathan Harris, ''Constantinople: Capital of Byzantium'' (2007) Hambledon/Continuum. ISBN 978 1847251794
* {{cite book|last = Nicolle|first = David|year = 2000|title = Constantinople 1453: The end of Byzantium|publisher = Osprey Publishing|isbn = 1-84176-091-9}}
* {{cite book
| last = Norwich
| first = John Julius
บรรทัด 58:
| isbn = 0-679-41650-1
}}
* {{cite book
| last = Pertusi
| first = Agostino, ed.
บรรทัด 66:
| location = Verona
}}
* {{cite book
| last = Pertusi
| first = Agostino, ed.
บรรทัด 74:
| location = Verona
}}
* {{cite book
| last = Runciman
| first = Steven
บรรทัด 83:
| isbn = 0-521-39832-0
}}
* Smith, Michael Llewellyn, "The Fall of Constantinople", in ''History Makers magazine'' No. 5 (London, Marshall Cavendish, Sidgwick & Jackson, 1969) p. 192
* Andrew Wheatcroft: ''The Infidels: The Conflict Between Christendom and Islam, 638–2002'' (2003) Viking Publishing ISBN 0-670-86942-2
* Justin Wintle: ''The Rough Guide History of Islam'' (2003) Rough Guides ISBN 1-84353-018-X
 
== ดูเพิ่ม ==