ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลิกทาสและไพร่ในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 4:
{| class="infobox" style="font-size: 90%; border: 1px solid #999; float: right; margin-left: 1em; width: 270px;"
|- style="background:#f5f5f5;"
! colspan = "3" | ราคาทาส<ref name="ชัย286"/>
|-
| '''อายุทาส (ปี)''' || '''ชาย''' || '''หญิง'''
บรรทัด 25:
หมอสมิธ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไซแอมรีโพซิตอรี เขียนบทความตำหนิรัฐบาลสยามอย่างรุนแรง ด้วยเห็นว่า "ในบรรดาประเทศเจริญทั้งหลาย พระเจ้าแผ่นดินก็ดี พวกขุนนางก็ดี ไม่มีสิทธิ์เกณฑ์แรงราษฎรผู้เสียภาษีอากรโดยไม่ให้อะไรตอบแทน"<ref name="ชัย289">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 289.</ref> เพราะไพร่รับราชการโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน ซ้ำยังต้องออกค่าใช้จ่ายทุกอย่างในระหว่างการรับราชการนั้นเองอีกด้วยต่างหาก เช่น ค่าเดินทาง ค่าอาหาร เป็นต้น<ref name="ชัย289"/> นอกจากนี้ยังมีพวก "คนไทยหนุ่ม" ที่อยากให้เลิกขนบไพร่ บางส่วนแสดงความคัดค้านที่รัฐบาลสักเลกในฤดูเก็บเกี่ยวข้าว เพราะทำให้การทำนาได้รับความเสียหาย<ref name="ชัย290">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 290.</ref>
 
ขนบไพร่นี้บังคับให้ราษฎรอายุตั้งแต่ 15-16 ปี จนถึง 70 ปี ต้องทำงานรับใช้หรือส่งส่วยให้แก่ชนชั้นปกครอง แบ่งออกเป็นไพร่หลวง ไพร่สมและไพร่ส่วย ไพร่มีกำหนดรับราชการเดือนเว้นเดือน ในสมัยอยุธยา ปีละ 6 เดือน ลดลงมาเหลือปีละ 4 เดือนในสมัยรัชกาลที่ 1 และเหลือ 3 เดือนในรัชกาลที่ 2<ref>ชัย เรืองศิลป์. หน้า 287-288.</ref> หากไม่อยากรับราชการก็ต้องจ่าย "ค่าราชการ" เดือนละ 6 บาท<ref>ชัย เรืองศิลป์. หน้า 288.</ref>
 
[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]] กราบทูลเสนอความคิดเห็นว่า ควรให้ราษฎรเสียค่าราชการปีละ 6 บาทโดยเท่ากัน และให้งดการเกณฑ์แรงชั่วคราว ใช้วิธีเกณฑ์จ้างแทน<ref name="ชัย289"/>
 
{| class="wikitable" width = 60%
|-
! colspan = "2" | ลำดับเหตุการณ์การเลิกไพร่<ref>ชัย เรืองศิลป์. หน้า 290-292.</ref>
|-
! style="text-align:center;" width = 80px | ปี (พ.ศ.)
! เหตุการณ์
|-
บรรทัด 40:
|-
| style="text-align:center;" | 2420
|
* ทรงออกประกาศพระบรมราชโองการให้ไพร่สมรับราชการเช่นเดียวกับไพร่หลวง หรือต้องเสียเงินค่าราชการปีละ 6 บาทแทนการถูกเกณฑ์แรงงาน
* ทรงปรับปรุงให้การแจ้งไพร่สมตาย ชรา พิการ เป็นไปได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น