ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสอบสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3:
 
== ประวัติความเป็นมาการสอบสนามหลวง ==
การสอบบาลีสนามหลวงนั้นมีมาตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ในสมัยต้น[[รัตนโกสินทร์]]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสอบในทำนองเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ 3 ปีมีการสอบครั้งหนึ่ง เป็นการสอบแบบปากเปล่า มีพระเถราจารย์ผู้ทรงภูมิความรู้เป็นกรรมการสอบ<ref>[http://www.watyai.com/ceo_watyai.html การศึกษาของพระ ป.ธ.3 ถึง ป.ธ. 9 คืออะไร], จุลสารพระธรรมทูตวัดไทยลาสเวกัส</ref>
 
=== การสอบไล่ปากเปล่าในอดีต ===
บรรทัด 17:
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง[[มหามกุฏราชวิทยาลัย]]ขึ้นในคณะสงฆ์[[ธรรมยุตินิกาย]] [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] ซึ่งเวลานั้นทรงเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติกนิกายได้ทรงกำหนดหลักสูตรของมหามกุฏราชวิทยาลัยขึ้น โดยกำหนดให้ผู้เรียน เรียนทั้งหนังสือไทยและ[[บาลีไวยากรณ์]] โดยผู้เข้าเรียนในสำนักมหามกุฏราชวิทยาลัย นี้มีทั้งพระภิกษุ สามเณร และ[[ฆราวาส]]
 
จึงทำให้การสอบบาลีสนามหลวงในสมัยนั้นแบ่งออกเป็นสองสนาม คือ สนามที่สอบปากเปล่าแบบเก่า และสนามที่จัดสอบผู้เล่าเรียนตามหลักสูตรมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งใช้วิธีสอบแบบข้อเขียน และแบ่งการสอบเป็น 3 ชั้น เรียกว่า เปรียญตรี เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 4 แบบเก่า เปรียญโท เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 5 และเปรียญเอกเทียบคุณวุฒิเปรียญ 7
 
การสอบไล่ตามหลักสูตรมหามกุฏราชวิทยาลัย คงดำเนินมาจนถึงต้นรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] จึงได้ปรับหลักสูตรการศึกษาบาลีสนามหลวงทั้งหมด โดยใช้หลักสูตรของมหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นหลัก และเลิกการสอบเปรียญ ตรี โท เอก เปลี่ยนมาเป็นสอบบาลีตั้งแต่ประโยค 1 - 9 ดังในปัจจุบัน
บรรทัด 39:
* [[ประโยค 7]] ถึง[[ประโยค 9]] เป็นเปรียญเอก (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าปริญญาตรี)
 
'''การจัดสอบวัดผลบาลีสนามหลวงในปัจจุบันนั้นแบ่งเป็นสองครั้ง''' ครั้งแรกคือชั้นประโยค 6 ถึงประโยค 9 และครั้งที่สองคือ ประโยค 1-2 ถึง [[ประโยค 5]] โดยแต่ละครั้งจะจัดสอบพร้อมกันทั่วประเทศ ใช้ข้อสอบที่ออกโดย[[แม่กองบาลีสนามหลวง]]
 
<ref>[http://www.watpaknam.net/pali5.php กำหนดการสอบบาลีสนามหลวง]</ref>
; ครั้งที่ 1 : ตรงกับวันขึ้น 2, 3 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 6- 7 และวันขึ้น 4, 5, 6 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 8-9
; ครั้งที่ 2 : ตรงกับวันแรม 10, 11 12 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรม 5 ประโยค