ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาโทแคเรียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox Language
| name = ภาษาโตคาเรียน
| region = [[ที่ราบตาริม]] ใน [[เอเชียกลาง]]
| extinct = [[พุทธศตวรรษที่ 14]]
| iso2 = ine
| familycolor = Indo-European
| family = [[กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน]]<br />&nbsp;'''โตคาเรียน'''
| script = [[อักษรโตคาเรียน]]
| lc1 = xto |ld1=โตคาเรียน เอ
| lc2 = txb |ld2=โตคาเรียน บี
บรรทัด 16:
ภาษา'''โตคาเรียน เอ'''หรือโตคาเรียนตะวันออก นั้น เคยพูดกันในแถบเตอร์ฟาน ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ส่วนภาษา'''โตคาเรียน บี'''หรือโตคาเรียนตะวันตก นั้น เคยพูดกันส่วนใหญ่ในแถบคูชา ทางตะวันตก แต่ก็มีพูดกันในเตอร์ฟานด้วย ภาษาโตคาเรียนนั้นเขียนด้วยอักษรที่ดัดแปลงจาก[[อักษร]]อินเดียฝ่ายเหนือ เรียกว่า[[อักษรพราหมี]] ซึ่งเป็นอักษรที่เคยใช้เขียน[[ภาษาสันสกฤต]]ในภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน
 
แม้ว่าภาษาโตคาเรียนจะเป็นภาษาที่เก่าแก่ แต่นักวิชาการเพิ่งรู้จักและได้วิเคราะห์ไวยากรณ์ รวมทั้งแปลภาษาโตคาเรียนได้เป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1908 นี้เอง โดยนักวิชาการชาวเยอรมัน ชื่อ '''เอมิล ซีก''' (Emil Sieg) และ'''วิลเฮล์ม ซีกลิง''' (Wilhelm Siegling) ทั้งนี้ได้มีการเสนอชื่อเรียกภาษาตามสำเนียงเยอรมันว่า '''โตคาริช''' (Tocharisch)
 
ภาษาโตคาเรียนเป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับสาขาย่อย[[อินโด-อารยัน]] หรือ[[อินโด-อิเรเนียน]] ทั้งๆ ที่อยู่ในพื้นที่ทางตะวันออก หากพิจารณาตามหลักสัทศาสตร์แล้ว ภาษาโตคาเรียนอยู่ในกลุ่ม[[เคนตุม]] (Centum) อันเป็นเกณฑ์คร่าวๆ ในการจำแนกกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ทั้งๆ ที่กลุ่มภาษาเคมตุมนั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ใน[[ทวีปยุโรป]] จึงจัดว่าภาษาโตคาเรียนเป็นกลุ่มภาษาเคมตุม ที่รายล้อมด้วยกลุ่มภาษา[[ซาเตม]] (Satem) ใน[[ทวีปเอเชีย]] และมีคุณลักษณะบางประการที่คล้ายคลึงกับ[[ภาษาฮิตไตต์]]ที่เคยพูดกันเมื่อราว 1,100 ปีก่อนคริสตกาล