ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/วิกิพีเดียลิงก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 70:
โปรดตรวจสอบลิงก์ของคุณให้แน่ใจว่าชี้ไปยังบทความที่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น [[แอปเปิล]]ชี้ไปยังบทความเกี่ยวกับผลไม้ชนิดหนึ่ง ขณะที่ [[แอปเปิล (บริษัท)]] เป็นชื่อเรื่องของบทความว่าด้วยผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังมีหน้า "[[วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม|แก้ความกำกวม]]" ซึ่งมิใช่บทความ แต่เป็นหน้าที่มีลิงก์ไปยังบทความที่มีชื่อเรื่องเดียวกันหรือคล้ายกัน บางชื่อ เช่น [[แอปเปิล (แก้ความกำกวม)]] นั้นชัดเจน ขณะที่บางชื่ออย่าง [[ผู้ปกครอง]] ใช้ชื่อเรื่องทั่วไป สำหรับชื่อเรื่องที่แตกต่างกันเหล่านี้ การใช้ลิงก์ไพป์หรือลิงก์ขีดตั้ง (piped link) จะมีประโยชน์มาก ตัวอย่างเช่น วิกิลิงก์[[เงิน (โลหะ)]] น่าอ่านน้อยกว่าลิงก์ไพป์[[เงิน (โลหะ)|เงิน]] แม้ทั้งสองลิงก์จะนำผู้อ่านไปยังบทความเดียวกันก็ตาม
 
== เมื่อใดที่ต้องมีจึงควรลิงก์ ==
การเพิ่มลิงก์ในบทความทำให้บทความนั้นมีประโยชน์มากขึ้น แต่ลิงก์มากเกินไปอาจทำให้ไขว้เขวได้ ส่วนนำมักมีลิงก์มากกว่าบทความส่วนอื่น ในการหลีกเลี่ยงลิงก์มากเกิน คุณควรสร้างลิงก์ในบทความเฉพาะเมื่อคำหรือวลีนั้น''ปรากฏครั้งแรก'' และคุณไม่ควรลิงก์คำสามัญ อย่าง "รัฐ" และ "โลก" แม้วิกิพีเดียจะมีบทความสำหรับคำเหล่านี้ก็ตาม เว้นแต่คำสามัญเหล่านี้จะเป็นมโนทัศน์ศูนย์กลางของบทความ
การพิจารณาว่าเมื่อใดที่ควรสร้างลิงก์ ให้ลองถามตัวเองดูว่า "ถ้าเราเป็นผู้อ่านบทความ การสร้างลิงก์จุดนี้จะมีประโยชน์ต่อตัวเราหรือไม่" เมื่อได้คำตอบแล้วสามารถทำลิงก์กับคำสำคัญและคำศัพท์เฉพาะ ซึ่งการสร้างลิงก์นี้จะสร้างขึ้นกับคำสำคัญคำแรกที่ปรากฏในบทความเท่านั้น ถึงแม้ว่าคำเดิมจะปรากฏซ้ำกันอีกหลายครั้งก็ตาม
 
การดูบทความวิกิพีเดียอื่นสามารถช่วยคุณให้เรียนรู้ว่าควรเพิ่มลิงก์เมื่อใดได้
 
== หมวดหมู่ ==
คุณยังสามารถจัดบทความเข้าหมวดหมู่กับบทความอื่นในหัวข้อที่สัมพันธ์กันได้ ใกล้กับท้ายบทความ พิมพ์ <tt><nowiki>[[หมวดหมู่:]]</nowiki></tt> และใส่ชื่อหมวดหมู่ระหว่างเครื่องหมาย[[ทวิภาค]]หรือโคลอน (:) กับวงเล็บเหลี่ยม ตัวอย่างเช่น <tt><nowiki>[[หมวดหมู่:สอนการใช้งานวิกิพีเดีย]]</nowiki></tt>
การจัดหมวดหมู่เป็นการสร้างการเชื่อมโยงในอีกระดับหนึ่งในวิกิพีเดีย โดยพิมพ์
{| width=100% style="border:none; text-align:left;"
|-
| style="background:#E6F2FF; padding:0.3em;"|
:<tt><nowiki>[[หมวดหมู่:]]</nowiki></tt>
|}
และใส่ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการระหว่างเครื่องหมาย[[ทวิภาค]] (โคลอน) และวงเล็บสี่เหลี่ยม
 
;บทความสารานุกรมทุกบทความ จำเป็นต้องมีหมวดหมู่เพื่อให้สะดวกในการค้นหา ดังนั้น จึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่จะใส่หมวดหมู่ และ จัดหมวดหมู่ ให้แก่บทความให้ถูกต้อง
''ดูรูปแบบและวิธีการจัดหมวดหมู่ได้ที่ [[วิกิพีเดีย:หมวดหมู่|การจัดหมวดหมู่]]''
 
== ลิงก์ข้ามภาษา ==
นอกจากการเชื่อมโยงกันของบทความแล้ว วิกิพีเดียไทยยังมีการเชื่อมโยงไปที่บทความเดียวกันในภาษาอื่นได้ โดยการใส่ลิงก์ข้ามภาษาที่ท้ายสุดของบทความ โดยก่อนใส่แน่ใจว่า'''บทความเรื่องเดียวกันนี้มีอยู่แล้ว'''ในวิกิพีเดียภาษาที่ต้องการ วิธีการใส่ทำโดยพิมพ์ <nowiki>[[__รหัสภาษา__:__ชื่อบทความในภาษานั้น__]]</nowiki>
 
: ตัวอย่างเช่น ในบทความ [[จังหวัดเชียงใหม่]] จะใส่
 
'''สำคัญมากที่ต้องจัดหมวดหมู่ให้ถูกเพื่อให้ผู้อื่นหางานของคุณได้ง่าย''' ทางที่ดีที่สุดว่าจะจัดบทความเข้าหมวดหมู่ คือ ดูหน้าเรื่องคล้ายกัน และตรวจสอบว่าบทความนั้นใช้หมวดหมู่ใด ตัวอย่างเช่น หากคุณกำลังเขียนบทความเกี่ยวกับต้นไม้ประเภทหนึ่ง คุณอาจดูที่บทความเกี่ยวกับต้นไม้อีกประเภทหนึ่งเพื่อดูว่าหมวดหมู่ใดเหมาะสม
{| width=100% style="border:none; text-align:left;"
|-
| style="background:#E6F2FF; padding:0.3em;"|
:<tt><nowiki>[[en:Chiang Mai Province]]</nowiki><br><nowiki>[[fr:Province de Chiang Mai]]</nowiki></tt>
|}
 
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดูที่ [[วิกิพีเดีย:การจัดหมวดหมู่]]'''</div>
: ซึ่ง en และ fr คือรหัสของภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศสตามลำดับ ดูเพิ่มการสร้างลิงก์ข้ามภาษาที่ [[วิกิพีเดีย:ลิงก์ข้ามภาษา]]
 
{{clear}}
<div style="float: left; background-color: #f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #cedff2;">'''ทดลองเขียนได้ทดสอบสิ่งที่คุณเรียนรู้ที่ [[/กระดาษทด/]]'''</div>
 
<div style="float:right; margin-top: 0.0em; margin-bottom:3px; background-color: #cedff2; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #B8C7D9;">'''เรียนรู้ต่อในเรื่อง [[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แหล่งข้อมูลอื่น)|แหล่งข้อมูลอื่น]]<span style="font-size: larger; font-weight: bold;"> &rarr;</span></div>