ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขอบเขต (อุณหพลศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก ar:نظام حركة حرارية ไปเป็น ar:نظام (تحريك حراري)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 6:
โดยพื้นฐานแล้ว ขอบเขตจะเขียนด้วยเส้นประล้อมรอบปริมาณของบางสิ่งที่สนใจ หรือที่เรียกว่า "ระบบ" ซึ่งจะถูกศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในของมัน อะไรก็ตามที่ไหลเข้ามาในระบบจะก่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในซึ่งสามารถคำนวณได้ตามหลักการของ[[กฎทรงพลังงาน]] ระบบนี้อาจจะเป็นเพียง[[อะตอม]]หนึ่งอะตอมที่สั่นฟ้องกับพลังงานดั่งที่[[มักซ์ พลังค์]]ได้นิยามเอาไว้ใน [[พ.ศ. 2443]] หรือ เป็น[[ไอน้ำ]]หรือ[[อากาศ]]ใน[[เครื่องจักรไอน้ำ]] ตามที่[[นิโกลาส์ เลโอนาร์ด ซาดี การ์โนต์|ซาดี การ์โนต์]] นิยามไว้ในปี [[พ.ศ. 2367]] หรืออาจจะเป็น[[พายุไต้ฝุ่น]]ตามทฤษฎีของ[[:en:Kerry Emanuel|เคอร์รี เอ็มมานูเอล]]ที่ถูกสร้างใน [[พ.ศ. 2529]] หรืออาจจะเป็นเพียง[[:en:Nuclidel|นิวไคลด์]] ในระบบ[[ควาร์ก]] ตามทฤษฎี[[:en:Quantum thermodynamics|อุณหพลศาสตร์ ควอนตัม]]
 
สำหรับในเครื่องยนต์ ขอบเขตเคลื่อนที่ไม่ได้คือการที่ลูกสูบถูกยึดตรึง อันเป็นช่วงที่กระบวนการปริมาตรคงที่เกิดขึ้น และในเครื่องยนต์เดียวกัน การเคลื่อนที่ของขอบเขตคือการเคลื่อนที่ขึ้น-ลงของลูกสูบนั่นเอง
 
สำหรับในระบบปิด (ระบบที่ไม่ยอมให้เกิดการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตของระบบเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง ในขณะที่ระบบเปิด (ยอมให้มีการถ่ายเทมวลสาร) ขอบเขตมักจะมาจากการสร้างในจินตนาการ