ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 29:
| seats2 = 45
| seat_change2 = {{increase}} 45
| popular_vote2 =
| percentage2 =
 
บรรทัด 103:
|-
| [[พรรคสยามใหม่]]
|
| 3 คน
|-
บรรทัด 116:
| พรรคแผ่นดินไทย<ref>เป็นคนละพรรคกับ [[พรรคแผ่นดินไทย]] ที่ถูกยุบพรรคใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549]]</ref>
| [[สุนีรัตน์ เตลาน]]
| 2 คน
|-
| พรรคพลังประชาชน<ref>เป็นคนละพรรคกับ [[พรรคพลังประชาชน]] ที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2541</ref>
| [[บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยะวงศ์]]
| 2 คน
|-
| [[พรรคพัฒนาจังหวัด]]
|
| 1 คน
|-
บรรทัด 150:
== การจัดตั้งรัฐบาล ==
 
หลังเลือกตั้ง [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และ ม.ร.ว.เสนีย์ ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 และจัดตั้งคณะรัฐมนตรีโดยได้รับการสนับสนุนจากพรรคเกษตรสังคม และแนวร่วมสังคมนิยม แต่ได้คะแนนเสียงสนับสุนนเพียง 103 คน ไม่ถึงครึ่งของสภา (135 คน)
 
รัฐธรรมนูญสมัยนั้น กำหนดว่า การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต้องได้รับความไว้วางใจจาก[[สภาผู้แทนราษฎรไทย|สภาผู้แทนราษฎร]] เมื่อถึงวันแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อสภา วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2518 ปรากฏว่า รัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ได้รับเสียงสนับสนุนเพียง 111 เสียง ถือว่าไม่ได้รับความไว้วางใจจาก สภาผู้แทนผู้แทนราษฎร ม.ร.ว.เสนีย์ และพรรคประชาธิปัตย์ จึงแสดงความรับผิดชอบ โดยการลาออก และสละสิทธิ์การตั้งรัฐบาล
 
[[คึกฤทธิ์ ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]] ซึ่งมี ส.ส.ในสภาเพียง 18 เสียง สามารถรวบรวม ส.ส.พรรคต่าง ๆ รวม 8 พรรค ได้ 135 เสียง เท่ากับครึ่งหนึ่งพอดี จัดตั้งรัฐบาลโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีเสียงมากที่สุด 74 เสียง กลายเป็นฝ่ายค้าน
 
แต่ความเป็นรัฐบาลต้องเผชิญกับแรงกดดันต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะเสถียรภาพรัฐบาล ที่มีจำนวน ส.ส.ในสภาแบบก้ำกึ่ง ในที่สุด ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ต้องตัดสินใจ[[ยุบสภา]] เนื่องจาก ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลหันไปเข้าร่วมกับฝ่ายค้าน เสนอญัตติขอร่วมเปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล รวมเวลาที่บริหารประเทศได้ประมาณ 1 ปี 1 เดือน
บรรทัด 160:
หลังจากยุบสภามีการจัดการเลือกตั้งครั้งใหม่คือ [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519|การเลือกตั้ง วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519]]<ref>''คึกฤทธิ์ เป็นนายกฯ แทนพี่ชาย'', หน้า 149. ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3</ref> <ref>Nohlen, D, Grotz, F & Hartmann, C (2001) ''Elections in Asia: A data handbook, Volume II'', p284 ISBN 0-19-924959-8</ref> <ref>Sangchai, Somporn (1979), "Some Observations on the Elections and Coalition Formation in Thailand, 1976", ''Modern Thai Politics'' (Transaction Publishers): p. 378, http://books.google.com/books?id=Gqk9_jozvRcC&pg=PA378&lpg=PA378&dq=social+action+party+thailand+centre+left&source=bl&ots=N7zKxXAlDd&sig=OieZDawsUM1CyukQwM6m3fBn8nU&hl=en&sa=X&ei=JbUhT_HfFcyxhAfxsOn5BA&redir_esc=y#v=onepage&q=social%20action%20party%20thailand%20centre%20left&f=false</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
*[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11]]