ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Avaluació d'impacte ambiental
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม''' ({{lang-en|Environmental Impact Assessment ย่อว่า EIA}}) หมายถึง การประเมินผลกระทบจาก[[โครงการพัฒนา]]ที่จะมีต่อ[[สุขภาพ]]หรือความสมบูรณ์ของ[[สิ่งแวดล้อม]]ทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของ[[ระบบนิเวศ]]และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อ[[ธรรมชาติ]] ซึ่งบางครั้งอาจนำไปสู่[[ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อม]]ที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ลงมือดำเนินได้"<ref>{{cite web
| last =
| first =
| authorlink =
| coauthors =
| title = Principle of Environmental Impact Assessment Best Practice
| work =
| publisher = International Association for Impact Assessment
| date = 1999
| url = http://www.iaia.org/modx/assets/files/Principles%20of%20IA_web.pdf
| format = pdf
บรรทัด 24:
 
=== จีน ===
ใน[[ประเทศจีน]] กฎหมายการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบังคับให้มีการประเมินผลกระทบที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย ก่อนที่จะดำเนินการก่อสร้างโครงการ อย่างไรก็ดี หากเจ้าของโครงการหรือผู้พัฒนาดื้อแพ่งไม่ดำเนินการประเมินและจัดส่งผลการประเมินฯ บทลงโทษอย่างมากก็คือ สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (EPB) จะบังคับให้ผู้พัฒนาโครงการทำการประเมินตามมาในภายหลังได้ และถ้าผู้พัฒนาไม่ยอมทำภายในเวลาที่กำหนดให้ EPB จึงจะปรับผู้พัฒนาได้ และค่าปรับอย่างสูงกำหนดไว้มากที่สุดไม่เกิน 25,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 850,000 บาท) ซึ่งเป็นมูลค่าเพียงน้อยนิดเมื่อเทียบกับมูลค่าของโครงการ การขาดกลไกและมาตรการที่เข้มงวด มีผลทำให้จำนวนโครงการที่ไม่ยอมส่งผลประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อนลงมือก่อสร้างทวีจำนวนเป็นอย่างมาก<ref>{{cite web
| last = Wang
| first = Alex
| authorlink =
| coauthors =
| title = Environmental protection in China: the role of law
| work =
| publisher =
| date = 2007-02-05
| url = http://www.chinadialogue.net/article/show/single/en/745-Environmental-protection-in-China-the-role-of-law
| format =
| doi =
| accessdate = }}</ref>
บรรทัด 42:
การสอบสวนร่วมระหว่าง SEPA และกระทรวงที่ดินและทรัพยากรเมื่อ พ.ศ. 2547 แสดงให้เห็นว่า ร้อยละ 30 ถึง 40 ของโครงการทำเหมืองเท่านั้นที่ผ่านกระบวนการขั้นตอนที่กำหนดของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในขณะที่โครงการในพื้นที่อื่น ๆ ผ่านการประเมินเพียงร้อยละ 6 ถึง 7 ซึ่งเป็นการอธิบายว่าเหตุใดจีนจึงมีอุบัติในการทำเหมืองมากมายในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
 
ศาสตราจารย์หวาง คานฟา ([[:en:Wang Canfa|Wang Canfa]]) ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติสิ่งแวดล้อมแห่งมหาวิทยาลัยรัฐศาสตร์และกฎหมายให้ความเห็นว่า ลำพัง SEPA เองไม่อาจรับประกันการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับทางสิ่งแวดล้อม และว่าอัตราการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับสิ่งแวดล้อมนับได้อย่างมากก็เพียงร้อยละ 10 เท่านั้น<ref>{{cite web
| last = Gu
| first = Lin
| authorlink =
| coauthors =
| title = China Improves Enforcement of Environmental Laws
| work =
| publisher = China Features
| date = 2005-09-29
| url = http://www.chinese-embassy.org.uk/eng/zt/Features/t214565.htm
| format =
| doi =
| accessdate = }}</ref>
 
=== สหภาพยุโรป ===
แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการต่าง ๆ ที่อาจมีผลต่อสิ่งแวดล้อมของกลุ่มประเทศ[[สหภาพยุโรป]]เริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2528]] และปรับปรุงแก้ไขเมื่อ [[พ.ศ. 2540]] แนวทางดังกล่าวได้รับการแก้ไขอีกครั้งหนึ่งใน [[พ.ศ. 2546]] สืบเนื่องจากการลงนามโดยกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปในคราว[[ชุมนุมทางวิชาการที่อาร์ฮัส]] (Aarhus Convention) ว่าด้วย[[การมีส่วนร่วมของสาธารณชน]]ในด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาได้รับการขยายขอบเขตไปถึงการประเมินแผนและโปรแกรมด้วย "[[แนวทางเอสอีเอ]]" (SEA-Directive) เมื่อ [[พ.ศ. 2544]] ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันและได้กำหนดแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้เป็นแบบผสม คือมีทั้ง ''ภาคบังคับ'' และ ''ภาคตามควร''<ref>{{cite web
| last = Watson
| first = Michael
| authorlink =
| coauthors =
| title = Environmental Impact Assessment and European Community Law
| work =
| publisher = XIV International Conference "Danube-River of Cooperation"
| date = November 13-15, 2003
| url = http://www.members.tripod.com/~danubedita/library/2003watson2.htm
| format =
| doi =
| accessdate = }}</ref>
บรรทัด 109:
 
=== นิวซีแลนด์ ===
ใน[[ประเทศนิวซีแลนด์]] ปกติการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะหมายถึง “''การประเมินผลที่ตามมาที่มีต่อสิ่งแวดล้อม''” (Assessment of Environmental Effects - AEE) การใช้การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมครั้งแรก เริ่มจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ [[พ.ศ. 2517]] โดยเรียกว่า “''การปกป้องสิ่งแวดล้อมและขั้นตอนในการปรุบปรุง''” (Environmental Protection and Enhancement Procedures) การนี้ไม่ได้ใช้บังคับเป็นกฎหมายแต่ใช้เฉพาะในหน่วยงานของรัฐ แต่เมื่อมีการประกาศใช้ “''พระราชบัญญัติการจัดการทรัพยากร''” (Resource Management Act) เมื่อ [[พ.ศ. 2534]] การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกลายเป็นข้อบังคับให้เป็นส่วนหนึ่งของการขออนุญาตดำเนินการด้านทรัพยากร โดยตราไว้โดยชัดเจนในมาตรา 88
 
 
บรรทัด 117:
ตามปกติ หน่วยงานจะแจกจ่าย “''ร่างข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม''” (DEIS) เพื่อให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ ผู้สนใจและสาธารณชนจะมีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อร่าง จากนั้น หน่วยงานก็จะรับรองผลเป็น “''ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขั้นสุดท้าย''” (FEIS) บางครั้ง หน่วยงานอาจแจกจ่าย “''ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส่วนเพิ่ม''” (SEIS) ให้ประชาชนได้รับทราบ
 
ความเพียงพอหรือไม่ของข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือ EIS อาจนำเข้าสู่กระบวนการในศาลได้ โครงการใหญ่ ๆ จึงมักถูกต่อต้านเนื่องจากความบกพร่องของหน่วยงานในการจัดเตรียม''ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม''ที่ดีพอ ตัวอย่างที่โด่งดังได้แก่[[โครงการถมขยะเวสต์เวย์]] และโครงการก่อสร้าง[[ทางหลวง]]ตาม[[แม่น้ำฮัดสัน]]ใน[[นครนิวยอร์ก]]<ref>[http://www.elr.info/litigation/vol13/13.20326.htm Court decision] in [[Sierra Club]] v. [[United States Army Corps of Engineers]]</ref> ตัวอย่างที่ชัดเจนอีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่กรณีที่[[เชียร์ราคลับ]]ฟ้องกรมทางหลวงแห่ง[[รัฐเนวาดา]]ที่ปฏิเสธคำขอให้กรมฯ ออก “ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส่วนเพิ่ม” (SEIS) ว่าด้วยการปลดปล่อยและมลพิษของยานยนต์ที่เพิ่มจากการขยายทางหลวงสาย 95 ผ่าน[[ลาสเวกัส]]ให้ประชาชนได้รับทราบ.<ref>{{cite news
| last = Ritter
| first = John
| coauthors =
| title = Lawsuit pits risks and roads
| work =
| pages =
| publisher = [[USA Today]]
| date = 2003-06-03
| url = http://www.usatoday.com/news/nation/2003-03-06-vegas-highway-usat_x.htm
| accessdate = }}</ref> การดำเนินคดีถึงศาลมีผลให้ต้องหยุดการก่อสร้างไว้ก่อนจนกว่าศาลจะตัดสิน กรณีนี้ตกลงยอมความกันได้ก่อนศาลมีคำตัดสิน
 
รัฐบาลระดับรัฐในหลายรัฐได้ยอมรับ[[กฎหมายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ]] นำมาใช้บังคับในกฎหมายของรัฐที่บังคับให้ต้องมีการจัดทำข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการบางโครงการของรัฐ และในกฎหมายของรัฐบางฉบับได้กล่าวถึงการที่จะต้องมีการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยใช้วลีว่า “''รายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม''” หรือ “''การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม''”<ref>[http://www.sprlaw.com/pdf/spr_little_nepa_ali_aba_0605.pdf Sive,D. & Chertok,M., "Little NEPAs" and Environmental Impact Assessment Procedures]</ref> เช่น กฎหมายคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย (California Environmental Quality Act -CEQA) ที่บังคับให้ต้องจัดทำ''รายงายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม'' (EIR)
 
ข้อบังคับที่ใช้บังคับของรัฐต่าง ๆ มีผลที่ทำให้ได้ข้อมูลจำนวนมากที่ไม่เฉพาะผลกระทบที่มีต่อโครงการเฉพาะราย แต่ยังช่วยอธิบายให้ความกระจ่างทางวิทยาศาสตร์ที่ยังไม่เคยได้รับการศึกษาวิจัยที่ดีพอมาก่อน ตัวอย่างเช่น รายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ทำส่งเมือง[[มอนเทอเรย์]] รัฐ[[แคลิฟอร์เนีย]] ที่มีข้อมูลสำคัญที่เผยให้เห็นรายชื่อชนิดของสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ของหน่วยงานรัฐบาลกลางที่เรียกกันว่า “[[ฮิกแมนโพเทนทิลลา]]” (Hickman's potentilla) หรือรายชื่อ[[พืชสมุนไพร]]ชายฝั่งชนิดใกล้สูญพันธุ์ยังขาดดอกไม้ป่าที่เป็น[[พืชถิ่นเดียว]]ตระกูลกุหลาบที่หายากมากที่มีขึ้นอยู่เฉพาะถิ่นนี้
บรรทัด 138:
# ให้ความเห็นเกี่ยวกับโครงการ ที่อาจส่งผลเสียหายต่อคุณภาพ[[สิ่งแวดล้อม]]
 
ต่อมาได้มีการออก'''[[พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ]] ฉบับที่ 2 [[พ.ศ. 2521]]'''
ทั้งนี้เนื่องจากพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 มิได้มีการระบุให้แน่ชัดเกี่ยวกับอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติบางเรื่อง จึงก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ดังนั้น จึงได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2518 โดยได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ชัดเจนและรัดกุมขึ้นกว่าเดิมรวม 3 ประการ คือ
# กำหนดให้มีการจัดทำ[[รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม]]สำหรับโครงการพัฒนาของรัฐและกิจกรรมบางประเภทของเอกชน
บรรทัด 145:
 
สำหรับ[[กฎหมาย]]ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติสามารถเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อเอื้ออำนวยต่อการบริหารสิ่งแวดล้อม และแก้ไขอุปสรรคและข้อขัดข้องในทางปฏิบัติได้
 
ในเดือนกันยายน [[พ.ศ. 2524]] สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ หรือกิจการบางประเภทและบางขนาด โดยอาศัยอำนาจตามประกาศกฎ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน]]ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ [[27 กันยายน]] [[พ.ศ. 2524]] โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ[[ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม]]และคุณค่าต่าง ๆ ที่มีต่อมนุษย์ที่อาจจะถูกกระทบกระเทือน เนื่องจากโครงการหรือกิจการนั้น ๆ (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ [[พ.ศ. 2527]])
 
ในปี [[พ.ศ. 2535]] ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น '''พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม [[พ.ศ. 2535]]''' ในส่วนของการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ปรากฏใน '''ส่วนที่ 4 มาตราที่ 46 ถึง มาตราที่ 51'''
บรรทัด 157:
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Petts, J. (ed), Handbook of Environmental Impact Assessment Vol 1 & 2, Blackwell, Oxford ISBN 0-632-04772-0
* Environmental Impact Assessment Review (1980 - ), Elsevier
* Glasson, J; Therivel, R; Chadwick A, Introduction to Environmental Impact Assessment, (2005) Routledge, London
* กนกพร สว่างแจ้ง.การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,2545