ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การหลับ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: wa:Soumey
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 4:
ความมุ่งหมายและกลไกของการนอนหลับยังไม่ชัดเจนทั้งหมด และยังเป็นหัวข้อของการวิจัยอย่างจริงจัง<ref>{{cite web |url=http://thesciencenetwork.org/programs/waking-up-to-sleep |title=Waking Up To Sleep |accessdate=2008-01-25 |last=Bingham |first=Roger |coauthors=Terrence Sejnowski, Jerry Siegel, Mark Eric Dyken, Charles Czeisler, Paul Shaw, Ralph Greenspan, Satchin Panda, Philip Low, Robert Stickgold, Sara Mednick, Allan Pack, Luis de Lecea, David Dinges, Dan Kripke, Giulio Tononi |date=February 2007 |format=Several conference videos |publisher=The Science Network}}</ref> มักคิดกันว่า การนอนหลับช่วยรักษาพลังงาน<ref name="syllabus">{{cite web |url=http://www.sleephomepages.org/sleepsyllabus/b.html |title=Sleep Syllabus. B. The Phylogeny of Sleep |accessdate=2010-09-26 |publisher=Sleep Research Society, Education Committee}}</ref><ref name="function">[http://www.scribd.com/doc/13916183/AQA-ALevel-Psychology-PYA4-Function-of-Sleep "Function of Sleep."]. Scribd.com. Retrieved on 2011-12-01.</ref> แต่แท้จริงกลับลด[[เมแทบอลิซึม]]เพียง 5-10%<ref name="syllabus"/><ref name="function"/> สัตว์ที่จำศีลต้องการนอนหลับ แม้ว่าภาวะเมแทบอลิซึมต่ำจะพบได้ในการจำศีล และต้องเปลี่ยนกลับจาก[[ภาวะตัวเย็นเกิน]]มาเป็น[[อุณหภูมิปกติของร่างกาย]]ก่อนจึงจะหลับได้ ทำให้การหลับ "มีราคาทางพลังงานสูง"<ref name="pmid1945046">{{cite journal |author=Daan S, Barnes BM, Strijkstra AM |title=Warming up for sleep? Ground squirrels sleep during arousals from hibernation |journal=Neurosci. Lett. |volume=128 |issue=2 |pages=265–8 |year=1991 |pmid=1945046 |doi=10.1016/0304-3940(91)90276-Y}}</ref>
 
แต่ละช่วงอายุต้องการการนอนหลับต่อวันไม่เท่ากัน เด็กต้องการนอนหลับมากกว่าเพื่อให้ร่างกายพัฒนาและทำหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม ทารกเกิดใหม่ต้องการนอนหลับถึง 18 ชั่วโมง และมีอัตราลดลงในวัยเด็ก
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 38:
ขณะหลับ มนุษย์มีการ[[ฝัน]] ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่รับรู้ได้ของการสัมผัสทางการมองเห็นและเสียง ในลำดับที่ผู้ฝันโดยปกติรับรู้ในฐานะผู้มีส่วนร่วมชัดเจนมากกว่าผู้สังเกต ฝันถูกกระตุ้นโดย[[พอนส์]]และส่วนมากเกิดขึ้นใน[[การนอนหลับระยะ REM]]
 
การอดนอนหรือนอนไม่เพียงพอ ที่เรียกว่า "[[หนี้การนอนหลับ]]" (sleep debt) นั้น จะทำให้เกิดความอ่อนล้าทั้งทางร่างกาย จิตใจและอารมณ์ต่าง ๆ ทั้งยัง ทำให้ความสามารถในขบวนการคิดระดับสูงลดลง
 
ความผิดปกติของการหลับมีหลายอย่าง เช่น [[การนอนไม่หลับ]] (insomnia), [[ภาวะหยุดหายขณะหลับ]] (obstructive sleep apnea) ที่เกิดจากกล้ามเนื้อรอบทางเดินหายใจของผู้ป่วยหย่อนขณะหลับ ทำให้ทางเดินหายใจล้มเหลวและขวางการรับออกซิเจน และผู้ป่วยต้องตื่นขึ้นมาจากภาวะหลับลึกเพื่อหายใจ และ[[ภาวะง่วงเกิน]] (narcolepsy) ที่ผู้ป่วยจะนอนหลับอย่างควบคุมไม่ได้ เป็นต้น