ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: uk:EME (радіозв'язок)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 12:
== เกี่ยวกับสภาพอากาศ ==
* ถ้าหันสายอากาศทิศทางที่มี Beam width 15 องศา/-3 dB ไปที่ดวงจันทร์ และส่งสัญญาณขึ้นไป ประมาณ 0.1% ของสัญญาณจะกระทบผิวดวงจันทร์ และอีก 99.9% จะหลุดหายไปในอวกาศ (ไม่ถูกดวงจันทร์)
* ดวงจันทร์จะสะท้อนสัญญาณกลับประมาณ 7% ของสัญญาณที่กระทบผิวดวงจันทร์
* อัตราการสูญเสียระหว่างทาง (Path Loss) จากโลกไปดวงจันทร์และกลับมายังโลกอีกครั้ง (Earth-Moon-Earth) มีค่าประมาณ 252.5 dB ที่ความถี่ 144 MHz (อัตราการสูญเสีย 3dB หมายถึงสูญเสียไปประมาณ 50% หรือส่งไป 10 วัตต์จะเหลือประมาณ 5 วัตต์เท่านั้น) ซึ่งอัตราการสูญเสียนี่จะเปลี่ยนไปในแต่ละเดือน เพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 dB
* การเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศของคลื่นวิทยุจะมีการเปลี่ยน Polarization ซึ่งคาดเดาไม่ได้ ทำให้มีการสูญเสียอีกประมาณ 20-30 dB
* Cosmic noise หรือ Sky noise ที่ความถี่ต่ำว่า 1000 MHz จะมีค่าอยู่ระหว่าง 150 – 7000 แคลวิน ซึ่งการที่จะติดต่อ EME ได้สำเร็จในย่าน 144 MHz Sky noise จะต้องต่ำกว่า 500 แคลวิน
* การเดินทางของคลื่นวิทยุจากโลกไปยังดวงจันทร์และกลับมายังโลกอีกครั้งใช้เวลาประมาณ 2.5 วินาที
* Phase หรือเห็นดวงจันทร์ไม่เต็มดวง ไม่มีผลใดๆ สำหรับการติดต่อ EME
 
บรรทัด 54:
 
=== การส่ง-การรับและช่วงเวลา ===
การติดต่อ EME มักนิยมเล่นกันในช่วงสุดสัปดาห์หรือเสาร์-อาทิตย์ และจะดีที่สุดในช่วงดวงจันทร์เพิ่งขึ้นและใกล้ตก ซึ่งดวงจันทร์จะอยู่สูงจากขอบโลกไม่ควรเกิน 12 องศา เพราะจะได้ Ground Gain ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อ คู่สถานีจะต้องมองเห็นดวงจันทร์พร้อมกันด้วย และจะจับคู่สถานีระหว่างทวีป อเมริกา ยุโรป และเอเชีย ซึ่งโดยส่วนมากถ้าเป็นสถานีที่ไม่ใหญ่มาก มีกำลังส่งไม่สูง มักมีการนัดหมายกันล่วงหน้าก่อน โดยใช้วิธีการผลัดกันรับ-ส่ง ฝ่ายละ 2 นาที โดยให้สถานีที่อยู่ทางตะวันออกเป็นผู้เริ่มส่งก่อน จากเวลาที่นัดหมายกัน การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างการติดต่อจะใช้ระบบ TMO แต่ในบางครั้งก็ใช้ระบบ RST
 
;ระบบ TMO
บรรทัด 81:
| 0004 – 0006
| W5UN de HS2JFW
| O O O O O O O O
| HS2JFW รับสัญญาณเรียกขาน W5UN ได้
|-