ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาพย์ฉบัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Marder (คุย | ส่วนร่วม)
กาพย์ฉบังเป็นฉันทลักษณ์เขมร
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
'''กาพย์ฉบัง''' เป็นคำประพันธ์ประเภท[[กาพย์]] บทหนึ่งมีเพียงหนึ่งบาท บาทละ 3 วรรค บังคับจำนวนคำและสัมผัส ไม่มีบังคับเอก-โท หรือครุ-ลหุ กาพย์ฉบังที่กวีนิยมใช้ในวรรณกรรมตั้งแต่โบราณคือ '''กาพย์ฉบัง 16'''
 
== ความเป็นมา ==
 
เคยเชื่อกันว่า[[กาพย์]]เป็นคำประพันธ์ที่ดัดแปลงมาจาก[[ฉันท์]] แต่สำหรับ '''กาพย์ฉบัง''' นี้ไม่ปรากฏว่ามาจากฉันท์ชนิดใด และไม่เหมือนกาพย์ชนิดใดในตำรากาพย์ ขณะที่สุจิตต์ วงษ์เทศ ระบุว่ากาพย์ฉบังเป็นฉันทลักษณ์เขมร โดย '''ฉบัง''' มีรากจากคำเขมรว่า “จฺบำง” หรือ “จํบำง” (ไทยใช้ว่า จำบัง) แปลว่า รบ, สงคราม แต่กวีเขมรบรรยายฉากสงคราม, เคลื่อนทัพ, สู้รบ ด้วยฉันทลักษณ์ที่เขมรเรียกบท'''พํโนล'''(ปุมโนล) แล้วไทยเรียก'''ฉบัง'''<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. [http://www.sujitwongthes.com/2012/04/weekly20042555/#more-13207 '''กาพย์ฉบัง ฉันทลักษณ์เขมร วรรณคดียุคต้นอยุธยา''']. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับประจำวันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.</ref>
 
ใน[[จินดามณี]]มีข้อความว่า
จ ○○○○○○ ○○○○ ○○○○○○ ฯ 16 ฉบัง
'''โคลสิงฆฉันท์''' ฯ มิได้กำหนด ครุ ลหุ แลนิยมแต่กลอนฟัดกันอย่างกาพย
 
บรรทัด 24:
เมื่อพิจารณากาพย์ตัวอย่างแล้วฉันทลักษณ์เป็น'''กาพย์ฉบัง 18''' แต่การจัดวรรคต่างกัน คำว่า'''ดำเนอรกลอน 4''' หมายถึงการรับสัมผัสคำที่ 4 ของวรรคที่สอง และ'''ดำเนอรกลอน 5''' หมายถึงการรับสัมผัสคำที่ 5 ของวรรคที่สองนั่นเอง
 
== ฉันทลักษณ์ ==
 
=== กาพย์ฉบัง 16 ===
 
===กาพย์ฉบัง 16===
หนึ่งบทมี 16 คำ 3 วรรค วรรคละ 6 - 4 - 6 คำตามลำดับ บังคับสัมผัสท้ายวรรคแรกกับวรรคที่สอง สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้ายวรรคแรก ไปยังท้ายวรรคแรกในบทต่อไป ดังตัวอย่าง
 
บรรทัด 39:
 
○○○○○●─┐
 
</pre></div>
 
บรรทัด 45:
{{บทกวี|indent=1|๏ นกกดสองสิ่งเสียงหวาน |ไก่เถื่อนอันตรกาน
|อเนกในไพรสณฑ์|}}
{{บทกวี|indent=1|๏ กวักกว่าเปล้าปล่าโจษจล |ออกเอี้ยงอลวล
|ก็ร้องวางเวงเวหา|}}
{{บทกวี|indent=1|๏ ซังแซวเหยี่ยวรุ้งเร้นกา |จับจอมพฤกษา
บรรทัด 62:
{{บทกวี|indent=1|๏ เขาสูงฝูงหงส์ลงเรียง |เริงร้องซ้อง'''เสียง'''
|สำ'''เนียง'''น่าฟังวังเวง|}}
{{บทกวี|indent=1|๏ กลางไพรไก่ขันบรรเลง |ฟังเสียงเพียง'''เพลง'''
|ซอ'''เจ้ง'''จำเรียงเวียงวัง|}}
{{บทกวี|indent=1|๏ ยูงทองร้องกระโต้งโห่งดัง |เพียงฆ้องกลอง'''ระฆัง'''
|แตร'''สังข์'''กังสะดาลขานเสียง|}}
{{บทกวี|indent=1|๏ กะลิงกะลางนางนวลนอนเรียง |พระยาลอคลอ'''เคียง'''
บรรทัด 72:
 
 
=== กาพย์ฉบัง 18 แบบสัมผัสคำที่ 4 ===
 
หนึ่งบทมี 18 คำ 3 วรรค วรรคละ 6 - 4 - 8 คำตามลำดับ บังคับสัมผัสท้ายวรรคแรกกับวรรคที่สอง สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้ายวรรคแรก ไปยังท้ายวรรคแรกในบทต่อไป ดังตัวอย่าง
บรรทัด 85:
 
 
=== กาพย์ฉบัง 18 แบบสัมผัสคำที่ 5 ===
 
หนึ่งบทมี 18 คำ 3 วรรค วรรคละ 7 - 5 - 6 คำตามลำดับ บังคับสัมผัสท้ายวรรคแรกกับวรรคที่สอง สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้ายวรรคแรก ไปยังท้ายวรรคแรกในบทต่อไป ดังตัวอย่าง
บรรทัด 100:
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references/>
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/kaap/index.html กาพย์]
 
[[หมวดหมู่:กาพย์| กาพย์]]
{{โครงวรรณกรรม}}