ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาคอเคเซียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FriedrickMILBarbarossa (คุย | ส่วนร่วม)
fixing iw
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 9:
ลักษณะร่วมกันของกลุ่มภาษาคอเคซัส ได้แก่ การมีพยัญชนะเสียงเป่าลม และโครงสร้างแบบรูปคำติดต่อชัดเจนมาก นอกจาก[[ภาษาเมเกรเลีย]]แล้ว ภาษาในกลุ่มนี้มีลักษณะของการกเกี่ยวพันสูง
 
โดยทั่วไปเชื่อว่าภาษาในกลุ่มนี้มีเสียงพยัญชนะมาก แต่ความเป็นจริงจะถูกต้องเฉพาะกับกลุ่มภาษาคอเคเซียนตะวันตกเฉียงเหนือและกลุ่มภาษาคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือเท่านั้น (มีถึง 80 - 84 เสียงในภาษาอูบึก) พยัญชนะของกลุ่มภาษาคอเคเซียนใต้ไม่ต่างไปจากภาษาตระกูลอื่นมากนัก เช่นภาษาจอร์เจียมี 28 เสียง [[ภาษาลาซ]] 30 เสียง เมื่อเทียบกับ[[ภาษาอาหรับ]] 28 เสียง และ[[ภาษารัสเซีย]] 35-37 เสียง
 
ภาษาอื่นๆที่ใช้พูดในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสได้แก่[[ตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน]] เช่น [[ภาษาอาร์เมเนีย]] [[ภาษากรีก]] [[กลุ่มภาษาอิหร่าน]] ([[ภาษาออสเซติก]] [[ภาษาตาลิซ]]) [[กลุ่มภาษาสลาวิก]] (ภาษารัสเซีย) และตระกูลภาษาอัลไตอิก เช่น [[กลุ่มภาษาเตอร์กิก]] ([[ภาษาอาเซอรี]] [[ภาษาการาเชย์-บัลการ์]])และ[[กลุ่มภาษามองโกล]] เช่น [[ภาษาคัลมึก]]
บรรทัด 27:
* ตระกูลใหญ่เคเน-คอเคเซียน เป็นสมมติฐานที่เสนอโดย Sergei Starostin ซึ่งมีเขตทางภูมิศาสตร์กว้างขวางตั้งแต่ภาษาบาสก์ในยุโรปตะวันตกไปจนถึง[[ภาษานา-เคเน]]ในอเมริกาเหนือ Starostin เสนอว่า[[กลุ่มภาษาฮูร์โร-ยูร์ราเทีย]]และ[[กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือ]]มีความเกี่ยวข้องกับภาษาตระกูลนี้ในระดับสูง
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาคอเคเซียน| กลุ่มภาษาคอเคเซียน]]
{{โครงภาษา}}