ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้[[ทรงกรม]]ที่ ''กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์'' เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นอย่างยิ่ง จนทำให้[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) เกิดความระเวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ท่านไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มากและมีพระราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้
 
เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดาร]]ว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนา[[กรมขุนเสนาพิทักษ์]]ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]เมื่อปี พ.ศ. 2284

{{อ้างอิง-เส้นใต้|แต่อีกข้อสันนิษฐานหนึ่งว่าน่าจะเป็นช่วงหลังพิธีโกนจุกบุตรชายคนที่สองของ หลวงพินิจอักษร ที่ชื่อ ทองด้วง (ต่อมาภายหลังเด็กชายผู้นี้บิดาได้ถวายตัวให้เป็นมหาดเล็กในวังสมเด็จเจ้าฟ้าอุมทุมพร กรมขุนพรพินิต และรับราชการเรื่อยมาจนเป็นหลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี ในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา และได้เป็นเจ้าพระยาจักรีในสมัยธนบุรี ) ซึ่งเกิดในปี พ.ศ.2279 และเข้าพิธีโกนจุกในราวปี พ.ศ. 2291 โดยประธานในพิธีโกนจุกคือ พระภิกษุเจ้าฟ้านเรนทร และพระภิกษุเจ้าฟ้าอุทุมพร (หรือพระภิกษุเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต ก่อนขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าอุทุมพร ในปี พ.ศ.2301)}}
 
== พระตระกูล ==
<center>