ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สกุลกฤษณา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 23:
ในปัจจุบันมีประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่สามารถส่งผลผลิตและผลิตภัณฑ์ไม้กฤษณาออกไปจำหน่ายทั่วโลกอย่างถูกต้องตามกฎหมายและตาม[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์|อนุสัญญาไซเตส]] และได้ขึ้นทะเบียนไม้ที่ปลูกกับไซเตรสไว้ครั้งแรกจำนวน 7,404,452 ต้น ซึ่งปัจจุบันมีการปลูกทั่วประเทศประมาณ 15 ล้านต้น และไม่เพียงพอกับตลาดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน
 
== ความหลากชนิดของพรรณไม้สกุลAquilaria ==
== สปีชีส์ ==
ไม้กฤษณาเป็นไม้ในตระกูลไธเมลลาอีซีอี (Thymelaeaceae) และสกุลเอควิราเรีย (Aquilaria) ลำต้นขนาดปานกลาง แต่ถ้ามีอายุมากจะมีลำต้นขนาดใหญ่เป็นไม้เนื้อค่อนข้างอ่อน แต่เมื่ออายุมากแล้ว จะมีลักษณะเนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง สีเหลืองมีลายสวยงาม เปลือกลอกง่าย ลำต้นตรง สีค่อนข้างแดงผิวเป็นเม็ดตุ่มเล็กๆสีแดง-ดำ เทา เขียวอ่อน เป็นไม้โตเร็ว
 
บรรทัด 45:
*''Aquilaria subintegra'' Ding Hou แหล่งที่พบคือประเทศไทย
 
ชนิดพรรณไม้สกุลกฤษณา ชนิดพื้นเมืองที่พบในประเทศไทย ==
มี 5 ชนิด คือ
#''Aquilaria subintegra'' วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน ยังไม่พบการใช้เนื้อไม้หอมชนิดนี้ในประเทศไทย พื้นที่จังหวัดที่พบคือ ปัตตานีและยะลา
#''Aquilaria crassna'' เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำมันค่อนข้างสูง และปริมาณน้ำมันค่อนข้างมาก พบมากบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ นครนายก ปราจีนบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ และบริเวณแถบจังหวัดตราด และจันทบุรี
#''Aquilaria malaccaensismalaccensis'' เป็นชนิดไม้ที่ให้คุณภาพน้ำหอมและปริมาณน้ำหอมปานกลาง พบบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย เช่น ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง ตรัง ระนอง ปัตตานี ฯลฯ ตลอดแนวตามรอยตะเข็บชายแดนไทย พม่าขึ้นไปจนถึง รัฐอัสสัม และ ภูฎาน
#''Aquilaria hirta วิสัยเป็นไม้พุ่มที่ไม่ให้น้ำมัน ยังไม่พบการใช้เนื้อไม้หอมชนิดนี้ในประเทศไทย พื้นที่จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง และแหลมมลายู
#''Aquilaria rugosa วิสัยเป็นไม้ต้นขนาดกลางพบกระจายอยู่ในไทยและเวียดนาม มีรายงานพบเนื้อไม้หอมในเนื้อไม้ชนิดนี้เช่นกัน แต่เป็นไม้ต้นหายากทำให้ไม่พบแพร่นัก ในประเทศไทยพบขึ้นกระจายพันธุ์อยู่ตามภูเขาสูงในท้องที่จังหวัด เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง อุตรดิตถ์ จนมีชื่อเรียกว่า กฤษณาดอย