ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซฟาโลสปอริน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LaaknorBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3rc2) (โรบอต เพิ่ม: da:Cefalosporin
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 12:
== ขอบเขตการออกฤทธิ์ ==
;Cephalosporin รุ่นที่ 1 (first generation)
:ใช้ได้ผลดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก เช่น Staphylococci Streptococci รวมทั้งแบคทีเรียแกรมลบบางชนิด เช่น E. coli, Klebsiella pneumoniae และ Proteus mirabilis ยาไม่ครอบคลุมเชื้อ Enterococci (Enterococcus faecalis) และ methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA)
 
;Cephalosporin รุ่นที่ 2 (second generation)
บรรทัด 24:
 
;Cephalosporin รุ่นที่ 5 (fifth generation)
:เป็นรุ่นที่พัฒนาขึ้นมาโดยวัตถุประสงค์คาดหวังให้มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียกว้างทั้งแกรมบวกและแกรมลบ โดยมีผลกับ แกรมบวก ได้แก่ methicillin-sensitive Staphylococcus aureus (MSSA) , methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ,methicillin-resistant coagulase-negative staphylococci (MRCoNS), Streptococcus spp. และ penicillin-resistant streptococcus pneumoniaet (PRSP) และแกรมลบ ได้แก่ Enterobacter cloacae ,Escherichia coli , Proteus vulgaris , Pseudomonas aeruginosa , Serratia spp. และ Haemophilus influenzae
 
== การแบ่งกลุ่ม ==
บรรทัด 33:
* Cefazolin
 
;Cephalosporin รุ่นที่ 2
* Cefaclor
* Cefuroxime axetil
* Cefprozil
* Loracarbef
* Cefotetan
* Cefoxitin
* Cefuroxime
บรรทัด 47:
* Cefdinir
* Ceftibuten
* Cefoperazone
* Cefotaxime
* Ceftazidime
* Ceftizoxime
* Ceftriaxone
 
;Cephalosporin รุ่นที่ 4
* Cefepime
* Cefpirome
 
บรรทัด 68:
== เภสัชจลนศาสตร์ ==
;การดูดซึม
:ยากลุ่ม Cephalosporins ส่วนใหญ่ให้โดยการฉีด (IV,IM) เนื่องจากไม่ทนกรดในกระเพาะอาหาร มีบางตัวที่สามารถทนกรดในกระเพาะอาหารได้ เช่น Cephalexin Cefadroxil Ceprozilและ Cefaclor จึงให้โดยการรับประทาน ซึ่งอาหารมีผลต่อการดูดซึมและระดับยาในเลือดของยาเหล่านี้ ยกเว้น Cefadroxil
 
;การกระจาย
บรรทัด 74:
 
;การเปลี่ยนแปลง
:ยากลุ่ม Cephalosporins ส่วนใหญ่ไม่ถูกเปลี่ยนสภาพ ยกเว้น Cefotaxime Cephalothin และ Cephapirin ที่ถูกเปลียนแปลงได้บ้างที่ตับและเนื้อเยื่ออื่นๆ ได้ desacetyl metabolite ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้น้อยลง
 
;การขับถ่าย
ยากลุ่ม Cephalosporins ถูกขับถ่ายได้ 2 ทาง ดังนี้
# ทางไต เป็นส่วนใหญ่โดยกระบวนการ glomerular filtration และ/หรือ tubular sedretion
# ทางน้ำดี โดยผ่านตับ พบเป็นส่วนน้อย เช่น Ceftriaxone Cefoperazone
 
== อาการไม่พึงประสงค์ ==
บรรทัด 85:
# ผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
# ผลต่อตับ เช่น ทำให้ระดับ SGOT และ SGPT เปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถกลับสู่ภาวะปกติได้เมื่อหยุดยา
# ผลต่อไต เช่น ทำให้ระดับ BUN และ serum creatinin เพิ่มขึ้น
# ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ปวดศีรษะ วิงเวียน
# ปฏิกิริยาเฉพาะที่บริเวณที่ฉีด เช่น ถ้าฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะทำให้ปวดมากบริเวณที่ฉีด หรือถ้าฉีดเข้าเส้นเลือดดำในขนาดที่สูงเป็นเวลานานอาจทำให้หลอดเลือดดำอักเสบได้
บรรทัด 98:
* เภสัชวิทยา, คณาจารย์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537, หน้า 369-371
* เภสัชวิทยา, คณาจารย์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, โรงพิมพ์เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล, 2545, หน้า 459-469
* เภสัชวิทยา 2, ภก. พยงค์ เทพอักษรและคณะ, บริษัท ประชุมช่าง จำกัด, 2544, หน้า 63-70
* เภสัชวิทยา 2, คณาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, บริษัท นิวไทยมิตรการพิมพ์ (1996) จำกัด, 2541, หน้า 48-67
* เภสัชวิทยา, คณาจารย์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, บริษัท โฮลิสติก พับลิชชิ่ง จำกัด, 2552, หน้า 547-550