ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bukhoree (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
== ศัพทมูลวิทยา ==
ความคิด "ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ" อำนาจทางการเมือง "เบ็ดเสร็จ" โดยรัฐเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1923 โดย จีโอวันนี อาเมนโดลา ผู้อธิบายฟาสซิสต์อิตาลีว่าเป็นระบบที่แก่นแตกต่างจาก[[เผด็จการ]]ตามปกติ<ref name="regime">{{Harvnb|Pipes|1995|pp=240–281}}</ref> ภายหลังคำนี้ถูกให้ความหมายบวกในงานเขียนของจีโอวันนี เจนตีเล นักปรัชญาที่โดดเด่นที่สุดของอิตาลีและนักทฤษฎีฟาสซิสต์ชั้นแนวหน้า เขาใช้คำว่า "totalitario" หมายถึง [[โครงสร้าง]]และเป้าหมายของรัฐใหม่ รัฐใหม่มีเพื่อ "การเป็นผู้แทนอย่างสมบูรณ์ของชาติ และคำแนะนำเป้าหมายแห่งชาติเบ็ดเสร็จ"<ref>Stanley G. Payne, Fascism: Comparison and Definition (UW Press, 1980), porn. 73</ref> เขาอธิบายว่า ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จว่าเป็นสังคมที่อุดมการณ์ของที่รัฐมีอิทธิพล หากมิใช่อำนาจ อยู่เหนือพลเมืองส่วนใหญ่ของตน ถ้าไม่ใช่ในทางอำนาจแล้ว ก็ในทางอิทธิพล<ref>G. Gentile & B. Mussolini in "La dottrina del fascismo" (1932)</ref> [[เบนิโต มุสโสลินี]]กล่าวว่า ระบบนี้ใส่ความเป็นการเมืองแก่ทุกสิ่งที่เป็นจิตวิญญาณและเป็นมนุษย์
 
{{quote|ทุกอย่างภายในอยู่ภายใต้รัฐ ไม่มีสิ่งใดนอกอยู่นอกเหนือรัฐ ไม่มีสิ่งใดขัดต่อขวางรัฐได้<ref name="regime"/>}}
 
== อ้างอิง ==