ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Nmrbd_view7.jpg|200px|thumb|left|อาคาร 9 ชั้น ภาพถ่ายขณะจัดงานทำบุญตักบาตรในโรงเรียน]]
{{บทความหลัก|ประวัติโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา}}
 
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เป็น 1 ใน 9 แห่งของ[[กลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ]] ซึ่งบดินทรเดชาสถาปนาขึ้นเนื่องในวโรกาสมหามงคลที่[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงเจริญมีพระชนมายุครบ 5 รอบ เมื่อวันที่ในปี [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2535]] ดังนั้น ซึ่งกรมสามัญศึกษาพิจารณาที่ดินบริจาคของ[[กระทรวงศึกษาธิการพัฒน์ กังสานนท์]]จึงได้สถาปนาโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติขึ้นจำนวน 9 แห่ง โดยโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[3112-13 กรกฎาคม]]ตุลาคม [[พ.ศ. 2535]]2534 บนพื้นที่เพื่อจัดตั้งเป็นโรงเรียนเฉลิมพระเกียติในวโรสกาสดังกล่าว 5 ไร่ บริเวณซอยลาดพร้าว 69 ซึ่งและได้รับมอบหมายการบริจาคจากคุณย่าพัฒน์ กังสานนท์ (ปัจจุบัน โรงเรียนได้ขยายพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 15 ไร่) ควบคุมการก่อตั้งก่อสร้างโรงเรียนในระยะแรกนั้น แก่[[กรมสามัญศึกษาลักขณา แสงสนิท|คุณหญิงลักขณา แสงสนิท]] กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]]ในขณะนั้น เป็นผู้ประสานงานการจัดตั้งโรงเรียน ดังนั้น จึงและใช้ชื่อโรงเรียนในระยะแรกว่า "''โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 3''"<ref name="15ปี"/> ต่อมา เมื่อได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ชื่อพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า "นวมินทราชินูทิศ" แล้ว จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "''โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา''" และมีประกาศจัดตั้งโรงเรียนโดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2535<ref>[http://www.bodin3.ac.th เว็บไซต์โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา]</ref>
 
ในระยะแรกโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เปิดได้ใช้สถานที่ทำการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2535โรงเรียนบดินทรเดชา เป็นปีแรก(สิงห์ ในระยะเริ่มแรกนั้นสิงหเสนี) ใช้สถานที่โดยมีคณาจารย์ของโรงเรียนเองและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ในการดำเนินการสอน จนกระทั่ง และเปิดรับนักเรียนครั้งแรกในปีการศึกษา 25382535 จึงต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2536 โรงเรียนได้จัดการรับงบประมาณจากกระทรวงศึกษาธิการเป็นเงิน 95 ล้านบาท จัดสร้างอาคารเรียนการสอนอย่างเต็มรูปแบบในระดับมัธยมศึกษาปีที่แบบพิเศษ 9 1ชั้น -และอาคารอเนกประสงค์ 4 พร้อมทั้งชั้น ณ สถานที่ตั้งปัจจุบันของโรงเรียน<ref name="15ปี"/> และได้ย้ายมาทำการเรียนการสอนมาที่โรงเรียนทั้งหมด ณ สถานทีตั้งปัจจุบันในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2537
 
ในปี พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้จัดสร้างเรือนธรรมกาญจนาภิเษกซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน ''พระพุทธพรนวมินทรราชินีถวาย'' พระพุทธรูปประจำโรงเรียน และรูปเหมือนเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และใช้เป็นสถานที่จัดการอบรมกิจกรรมด้านจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง และได้เปิด ''สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ'' ในปีเดียวกัน
ในสมัยนางภรภัทร สิทธิวงศ์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ได้มีการกำหนดระบบประกันคุณภาพการศึกษาและมีการพัฒนาโรงเรียนอย่างมากในทุก ๆ ด้าน อาทิ ขยายโรงอาหาร ขยายห้องศูนย์คอมพิวเตอร์ ปรับปรุงสวน สร้างลานกีฬา หอประชุมบริเวณดาดฟ้า เป็นต้น ปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]<ref name="ประวัติ"/><ref>ศูนย์ปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน</ref> ทำการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตั้งแต่ปีที่ 1 - 6 พร้อมด้วยนักเรียนในโครงการภาษาอังกฤษ นักเรียนในโครงการความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ โดยมีการประกันคุณภาพเพื่อดำเนินการเป็นไปตามระบบสากล
 
ในสมัยนางภรภัทร สิทธิวงศ์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ได้มีการกำหนดระบบประกันคุณภาพการศึกษาและมีการพัฒนาโรงเรียนอย่างมากในทุก ๆ ด้าน อาทิ ขยายโรงอาหาร ขยายห้องศูนย์คอมพิวเตอร์ ปรับปรุงสวน สร้างลานกีฬา หอประชุมบริเวณดาดฟ้า เป็นต้น ปัจจุบัน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]<ref name="ประวัติ"/><ref>ศูนย์ปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน</ref> ทำการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตั้งแต่ปีที่ 1 - 6 พร้อมด้วยนักเรียนในโครงการหลักสูตรภาษาอังกฤษ นักเรียนในโครงการความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ โดยมีการประกันคุณภาพเพื่อดำเนินการเป็นไปตามระบบสากล
 
== ความหมายของชื่อโรงเรียน ==