ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะแองโกล-แซกซัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด
บรรทัด 33:
 
== งานโลหะ ==
งานโลหะของแองโกล-แซ็กซอนแซกซันเป็นงานฝีมือที่มีชื่อเสียงไปไกลถึงอิตาลี แต่ก็แทบจะไม่มีเหลืออยูให้เห้นหลังจากการรุกรานของนอร์มันในปี ค.ศ. 1066 และการปฏิรูปศาสนาต่อมา<ref>Dodwell:44-47, 61-83, 216ff</ref> งานบางชิ้นที่ได้รับการกล่าวถึงโดยศิลปินของสำนักสงฆ์อาราม[[Spearhafoc|สเปียร์ฮาฟ็อค]]ที่ไม่มีชิ้นใดเหลืออยู่เป็นงานโลหะมีค่า [[Spearhafoc|สเปียร์ฮาฟ็อค]]เป็นศิลปินผู้เดียวจากยุคนั้นที่ได้รับการกล่าวถึงทั้งตัวบุคคลและผลงาน จากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งรวมทั้งจากนักบันทึกประวัติศาสตร์นอร์มัน[[Goscelin|กอสเซอลิน]]ผู้รู้จัก[[Spearhafoc|สเปียร์ฮาฟ็อค]] กล่าวถึง[[Spearhafoc|สเปียร์ฮาฟ็อค]]ว่า “เป็นผู้มีฝีมือในการเขียนภาพ, การสลักทอง และ การทำงานช่างทอง” อาจจะเป็นได้ว่าเพราะความมีฝีมือทำให้สเปียร์ฮาฟ็อคได้เข้ามามีความสัมพันธ์กับเจ้านาย และทำให้ได้รับการเลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วในสถาบันศาสนา<ref>Dodwell:46 and 55, who quotes Goscelin, and Historia:ciii-cv for the other sources.</ref> แม้ว่าจะเป็นรายละเอียดอย่างหยาบๆ ที่ส่วนใหญ่บรรยายโดย[[Goscelin|กอสเซอลิน]] แต่กระนั้นก็ยังเป็นหลักฐานอันมีค่าเกี่ยวกับลักษณะงานโลหะของแองโกล-แซ็กซอน นอกจากนั้นฝีมือในด้านการสลักทอง, ออกแบบ และ สลักรูปลักษณ์ลงบนทองของแองโกล-แซ็กซอนก็ยังได้รับการกล่าวถึงในบันทึกในหลักฐานของชาวต่างประเทศอีกด้วย การเขียนภาพบนผนังที่บางครั้งดูเหมือนจะมีทองผสมอยู่ด้วยมักจะเขียนโดยช่างเขียนหนังสือวิจิตร คำบรรยายของ[[Goscelin|กอสเซอลิน]]ถึงฝีมือของศิลปินแองโกล-แซ็กซอนดูเหมือนจะถือกันว่าช่างทองเป็นช่างฝีมืออันดับหนึ่งในบรรดาช่างสาขาต่างๆ<ref>Dodwell:58, 79-83, 92-3</ref>
 
ศิลปินประจำสำนักสงฆ์อารามหลายคนได้รับตำแหน่งสูงๆ ความสามารถของ[[Spearhafoc|สเปียร์ฮาฟ็อค]]เทียบเท่ากับฝีมือของแมนนิกศิลปินร่วมสมัยผู้มีตำแหน่งเป็นแอ็บบ็อทแห่งอธิการอารามอีฟแชมระหว่างปี ค.ศ. 1044 ถึง ค.ศ. 1058<ref>See Dodwell, passim</ref> และเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษก่อนหน้านั้นก็มี[[นักบุญดันสตัน]] [[อัครสังฆราชอาร์ชบิชอแปแห่งแคนเตอร์บรีเทอร์เบอรี]]
 
ในปลายคริสต์ศตวรรษสุดท้ายของสมัยศิลปะแองโกล-แซ็กซอน เป็นสมัยที่มีหลักฐานเกี่ยวกับรูปลักษณ์ขนาดใหญ่ที่ทำด้วยโลหะ ที่อาจจะทำด้วยแผ่นโลหะบางหุ้มแกนที่ทำด้วยไม้เช่น[[พระแม่มารีทองแห่งเอสเซิน]] ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดของงานประเภทนี้ของรูปลักษณ์ที่สร้างขึ้นในสมัย[[ยุคกลางตอนต้น]]ที่พบในยุโรป รูปลักษณ์เหล่านี้จะมีขนาดเท่าคนจริงหรือเกือบเท่า และส่วนใหญ่จะเป็นกางเขน แต่บางครั้งก็จะมี[[พระแม่พระนางมารีรีย์พรหมจารี]]หรือนักบุญ[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร]]สองข้าง ศิลปะแองโกล-แซ็กซอนแซกซันนิยมความมีค่าของวัสดุที่ใช้และแสงที่สะท้อนลงบนโลหะมีค่า ที่ใช้ในการปักผ้าหรือในการเขียนภาพบนผนังด้วย
 
แม้ว่างานชิ้นใหญ่ส่วนใหญ่จะสูญหายไปจนแทบจะหมดสิ้น แต่ก็ยังมีงานชิ้นเล็กหรือชิ้นส่วนของงานที่ยังมีหลงเหลือให้เห็นอยู่บ้าง ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นสิ่งที่ถูกฝังไว้ - ยกเว้นแต่งานบางชิ้นเช่น[[Fuller Brooch|เข็มกลัดฟุลเลอร์]] และงานสองชิ้นที่ทำในออสเตรียโดยนักสอนศาสนาชาวแองโกล-แซ็กซอน - [[Tassilo Chalice|ถ้วยทาสซิโล]] และกางเขนรูเปิร์ต ส่วน[[Alfred Jewel|เครื่องประดับอัลเฟรด]]เป็นชุดงานฝีมือที่พบในปี ค.ศ. 1693 ที่มีความงดงามที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุด ในปี ค.ศ. 2009 ก็ได้มีการขุดพบ[[Staffordshire hoard|สมบัติสตาฟฟอร์ดเชอร์]]ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนของงานโลหะกว่า 1,000 ชิ้นที่ส่วนใหญ่เป็นทอง<ref>[http://www.independent.co.uk/news/uk/home-news/highlights-of-anglosaxon-hoard-1792388.html Highlights of Anglo-Saxon hoard], The Independent, 24 September 2009, (retrieved 24 September 2009).</ref>