ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนตนเอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 55:
 
== ภาพเหมือนตนเองโดยจิตรกรยุโรป ==
[[เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร]]มักจะมีภาพเหมือนตนเองโดยเฉพาะในงานเขียนของ[[นักบุญดันสตัน]] และ [[แม็ทธิว แพริส]] ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นภาพจิตรกรขณะที่กำลังเขียนภาพหรือไม่ก็เสนองานที่เขียนเสร็จแก่[[ภาพเหมือนผู้อุทิศ|ผู้อุทิศ]]หรือต่อผู้ศักดิ์สิทธิ์<ref>Jonathon Alexander; ''Medieval Illuminators and their Methods of Work''; p.8-34, Yale UP, 1992, ISBN 0300056893 collects several examples</ref>
 
เชื่อกันว่า[[อันเดรอา ออร์ชานยา]]เขียนภาพเหมือนตนเองแทรกเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ที่เขียนในปี ค.ศ. 1359 ซึ่งเป็นการบันทึกอย่างน้อยก็ตามที่[[นักประวัติศาสตร์ศิลป์]][[จอร์โจ วาซารี]]กล่าวว่าเป็นสิ่งที่จิตรกรมักจะนิยมทำกัน ในอิตาลี[[จอตโต ดี บอนโดเน]] (ค.ศ. 1267-ค.ศ. 1337) วาดภาพตนเองในภาพชุด “eminent men” ในปราสาทที่เนเปิลส์, [[มาซาชิโอ]] (ค.ศ. 1401-ค.ศ. 1428) วาดภาพตนเองเป็นหนึ่งในอัครสาวกในจิตรกรรมฝาผนังภายใน[[ชาเปลบรันคาชชิ]] และ [[เบนนอซโซ กอซโซลิ]]วาดภาพตนเองกับภาพเหมือนของผู้อื่นในภาพ “ขบวนแมไจ” (Procession of the Magi) (ค.ศ. 1459) ใน[[Palazzo Medici|วังเมดิชิ]] โดยเขียนชื่อไว้บนหมวก สองสามปีต่อมา[[ซานโดร บอตติเชลลี]]ก็เลียนแบบเขียนตนเองเป็นผู้ชื่นชมคนหนึ่งในภาพ “การชื่นชมของแมไจ” ผู้หันมามองตรงมายังผู้ชมภาพ (ค.ศ. 1475)
บรรทัด 68:
ไฟล์:Ghiberti.png|[[ลอเร็นโซ กิเบอร์ติ]]<br>บน “ประตูสวรรค์” ที่<br>[[หอศีลจุ่มซานจิโอวานนิ]]</center>
ไฟล์:Jan van Eyck 091.jpg|<center>“[[ภาพเหมือนชายโพกหัว]]”<br>[[ยาน ฟาน เอค]]<br>ค.ศ. 1433<br>เชื่อกันว่าเป็นภาพเหมือนตนเอง ซึ่งทำให้เป็นภาพเหมือนที่เป็นจิตรกรรมแผงภาพแรกที่เขียนขึ้นตั้งแต่ยุคโบราณเป็นต้นมา</center>
ไฟล์:Weyden madonna 1440.jpg|<center>[[โรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น]]<br>ในบท[[นักบุญลูค]]<br>กำลังเขียนภาพพระแม่มารีรีย์<br>ราว ค.ศ. 1440</center>
ไฟล์:Jean Fouquet.png|[[ฌอง โฟเคท์]]<br>ราว ค.ศ. 1450<br>[[portrait miniature|ภาพเหมือนขนาดเล็ก]]<br>ถ้าไม่นับฟาน เอคก็จะเป็นภาพเหมือนเดี่ยวภาพแรกของการเขียนภาพเหมือนตนเองของศิลปะตะวันตก</center>
ไฟล์:Andrea Mantegna 084.jpg|<center>[[อันเดรีย มานเทนยา]]<br>ราว ค.ศ. 1474<br>รวมตนเองใน[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ของ[[ตระกูลกอนซากา|สำนักกอนซากา]]</center>