ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเฮาเมอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ดาวเคราะห์
| สีพื้นหลัง = #FFFFC0
| กว้าง =
| ชื่อดาว = เฮาเมอา
| สัญลักษณ์ =
| ภาพ = [[ไฟล์:2003EL61art.jpg|300px]]
| คำอธิบายภาพ = ภาพจินตนาการของดาวเฮาเมอา<br /> พร้อมกับดวงจันทร์ฮีอีอากาและดวงจันทร์นามากา<br />
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) = yes
| discovery_ref =
| ผู้ค้นพบ = [[ไมเคิล อี. บราวน์|บราวน์]]และคณะ;<br />[[โคเซ ลุยส์ ออร์ติซ โมเรโน|ออร์ติซ]]และคณะ<br /> (ยังไม่เป็นทางการทั้งคู่)
| วันค้นพบ = [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2547]] (บราวน์) ;<br /> [[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2548]] (ออร์ติซ)
| หลักการค้นพบ =
| ชื่อดาวเคราะห์น้อย (MPC name) = ''' (136108) เฮาเมอา'''
| ชื่ออื่นๆอื่น ๆ = {{mp|2003 EL|61}}
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย = [[ดาวเคราะห์แคระ]], [[พลูตอยด์]], <br />[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]
| orbit_ref =
| จุดเริ่มยุค = ([[วันจูเลียน|JD]] 2,453,600.5)
| ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด = 7,708 [[จิกะเมตร]]<br /> (51.526 [[หน่วยดาราศาสตร์]])
| ระยะจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 5,260 จิกะเมตร<br /> (35.164 หน่วยดาราศาสตร์)
| ระยะจุดใกล้โลกที่สุด =
| ระยะจุดไกลโลกที่สุด =
| ระยะจุดใกล้ศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| ระยะจุดไกลศูนย์กลางวงโคจรที่สุด =
| กึ่งแกนเอก = 6,484 จิกะเมตร<br /> (43.335 หน่วยดาราศาสตร์)
| กึ่งแกนรอง =
| รัศมีวงโคจรเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงของวงโคจร =
| ความเยื้องศูนย์กลาง = 0.18874
| คาบการโคจร =
| คาบดาราคติ = 104,234 [[วัน]] (285.4 [[ปีจูเลียน]])
| คาบซินอดิก =
| เดือนทางดาราคติ =
| เดือนจันทรคติ =
| เดือนอะโนมาลิสติก =
| เดือนดราโคนิก =
| เดือนทรอปิคัล =
| อัตราเร็วเฉลี่ยในวงโคจร = 4.484 กิโลเมตร/[[วินาที]]
| อัตราเร็วสูงสุดในวงโคจร =
| อัตราเร็วต่ำสุดในวงโคจร =
| มีนอนิมัลลี = 198.07[[องศา|°]]
| ความเอียง = 28.19°
| ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น = 121.90°
| long_periastron =
| time_periastron =
| ระยะมุมจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด = 239.51°
| ระยะมุมจุดใกล้โลกที่สุด =
| ดาวบริวารของ = [[ดวงอาทิตย์]]
| จำนวนดาวบริวาร = 2
บรรทัด 55:
| date = 2007-02-20
| accessdate = 2008-07-27}}</ref>
| อัตราส่วนภาพ =
| ความแป้น =
| ค่าความรี =
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวศูนย์สูตร =
| เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้ว =
| เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย =
| เส้นรอบวงตามแนวศูนย์สูตร =
| เส้นรอบวงตามแนวขั้ว =
| เส้นรอบวงเฉลี่ย =
| พื้นที่ผิว =
| พื้นที่ผืนดิน =
| พื้นที่ผืนน้ำ =
| ปริมาตร =
| มวล = {{E| (4.2 ± 0.1){{e|21}} [[กิโลกรัม]]<ref name="Brown2005">{{cite journal|author=[[Michael E. Brown|M. E. Brown]], A. H. Bouchez, [[David L. Rabinowitz|D. L. Rabinowitz]], R. Sari, [[Chadwick A. Trujillo|C. A. Trujillo]], M. A. van Dam, R. Campbell, J. Chin, S. Hartman, E. Johansson, R. Lafon, D. LeMignant, P. Stomski, D. Summers, P. L. Wizinowich|title=Keck Observatory laser guide star adaptive optics discovery and characterization of a satellite to large Kuiper belt object {{mp|2003 EL|61}}|journal=The Astrophysical Journal Letters|volume=632|pages=L45|date=October 2005|format=[http://www.gps.caltech.edu/%7Embrown/papers/ps/EL61.pdf full text from Caltech]|doi=10.1086/497641}}</ref>
| ความหนาแน่น = 2.6–3.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร<ref name="Rabinowitz2006"/>
| ความโน้มถ่วง = 0.44 [[ความเร่ง|เมตร/วินาที²]]
| ความเร็วหลุดพ้น = 0.84 กิโลเมตร/วินาที
| คาบการหมุนรอบตัวเอง = 0.16314 ± 0.00001 วัน<br /> (3.9154 ± 0.0002 ชั่วโมง) <ref name=hour>{{cite journal|title=High-Precision Photometry of Extreme KBO 2003 EL61|author=
Pedro Lacerda, David Jewitt and Nuno Peixinho|date=2008-04-02|journal=The Astronomical Journal|volume= 135 |pages=1749-1756|url=http://www.iop.org/EJ/abstract/1538-3881/135/5/1749|accessdate=2008-09-22}}</ref>
| ความเร็วการหมุนรอบตัวเอง =
| ความเอียงของแกน =
| ความเอียงแกน =
| ไรต์แอสเซนชันของขั้วเหนือ =
| เดคลิเนชัน =
| มุมละติจูดอิคลิปติค =
| มุมลองติจูดอิคลิปติค =
| อัตราส่วนสะท้อน = 0.7 ± 0.1<ref name="Rabinowitz2006"/>
| อุณหภูมิเดี่ยว = <50 [[เคลวิน]]<ref name="Trujillo 2006">{{cite journal|author=[[Chadwick A. Trujillo]], [[Michael E. Brown]], Kristina Barkume, Emily Shaller, [[David Rabinowitz]]|title=The Surface of {{mp|2003 EL|61}} in the Near Infrared|journal=The Astrophysical Journal|volume=655|date=February 2007|pages=1172–1178|format=[http://arxiv.org/abs/astro-ph/0601618 preprint]|doi=10.1086/509861}}</ref>
| ใส่หลายอุณหภูมิ? (yes/no) = no
| ชื่ออุณหภูมิ1 =
| อุณหภูมิ1_ต่ำสุด =
| อุณหภูมิ1_เฉลี่ย =
| อุณหภูมิ1_สูงสุด =
| ชื่ออุณหภูมิ2 =
| อุณหภูมิ2_ต่ำสุด =
| อุณหภูมิ2_เฉลี่ย =
| อุณหภูมิ2_สูงสุด =
| ชนิดสเปกตรัม =
| ความส่องสว่างปรากฏ = 17.3 ([[ความตรงกันข้าม (ดาราศาสตร์และโหราศาสตร์)|ตรงข้ามดวงอาทิตย์]]) <ref name=Horizons>{{cite web
| title = HORIZONS Web-Interface
บรรทัด 103:
| url = http://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=136108
| accessdate = 2008-06-11}}</ref>
| ขนาดเชิงมุม =
| อื่น ๆ =
| อื่นๆ =
| ใส่บรรยากาศ? (yes/no) = no
}}
บรรทัด 115:
| url = http://www.mikebrownsplanets.com/2008/09/haumea.html|accessdate=2008-09-22}} [http://www.mikebrownsplanets.com/2008/09/haumea.html?showComment=1221758760000#c3311727812106209920 (Namaka occultations)]</ref> เมื่อทีมค้นหาชาวสเปนประกาศการค้นพบต่อ[[ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย]] (MPC) ในปี [[พ.ศ. 2548]] ดาวดวงนี้จึงมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกว่า '''{{mp| (136108) 2003 EL|61}}''' โดยตัวเลข "2003" มาจากช่วงเวลาบนภาพถ่ายการค้นพบของทีมค้นหาชาวสเปน
 
จากแนวทางกว้าง ๆ ซึ่ง[[สหภาพดาราศาสตร์นานาชาติ]]เป็นผู้กำหนดขึ้นว่า วัตถุชั้นเอกในแถบไคเปอร์จะมีชื่อเรียกตามบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง (creation) ในเทวตำนานต่าง ๆ <ref>{{cite news| title=Naming of astronomical objects: Minor planets|work=International Astronomical Union| url=http://www.iau.org/public_press/themes/naming/#minorplanets| accessdate=2008-11-17}}</ref> ในเดือนกันยายน [[พ.ศ. 2549]] ทีมค้นหาจากแคลเทคจึงได้ส่งชื่อทางการสำหรับทั้งดาว {{mp|2003 EL|61}} และดวงจันทร์ที่ค้นพบทั้งสองดวงโดยนำชื่อมาจากเทวตำนานของฮาวายเพื่อที่จะ "แสดงความเคารพต่อสถานที่ที่ดาวบริวารเหล่านั้นถูกค้นพบ"<ref name=mike>{{cite web| title=Dwarf planets: Haumea|author=Mike Brown|work=CalTech|date=2008-09-17|url=http://web.gps.caltech.edu/~mbrown/2003EL61/|accessdate=2008-09-18}}</ref> ชื่อเหล่านั้นได้รับการเสนอจาก[[เดวิด ราบิโนวิตซ์]] หนึ่งในทีมค้นหาของแคลเทค<ref name=iau>{{cite news| url=http://www.iau.org/public_press/news/release/iau0807/| title=IAU names fifth dwarf planet Haumea| publisher=IAU Press Release| date=2008-09-17| accessdate = 2008-09-17}}</ref> [[เฮาเมอา (เทพปกรณัม)|เฮาเมอา]]เป็นเทพีผู้ปกป้องคุ้มครอง[[เกาะฮาวาย]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของ[[หอดูดาวเมานาเคอา]] นอกจากนี้ ในฐานะที่เป็นเทพีของโลก<ref name="craig">{{cite book|author=Robert D. Craig |title=Handbook of Polynesian Mythology |publisher=ABC-CLIO |date=2004 |page=128 |url=http://books.google.ca/books?id=LOZuirJWXvUC&pg=PA128&dq=haumea&lr=&sig=ACfU3U3pDIRAYQihFLO5R-rkQ1Y2G3OHxg }}</ref> พระองค์จึงเป็นตัวแทนของหิน ซึ่งก็มีความเหมาะสม เพราะสันนิษฐานกันว่าดาว {{mp|2003 EL|61}} มีโครงสร้างเป็นหินแข็งเกือบทั้งหมด ไม่ได้เป็นชั้นน้ำแข็งหนาที่ห่อหุ้มแก่นหินเล็ก ๆ ไว้ (ซึ่งถือเป็นลักษณะเฉพาะของวัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]ดวงอื่น ๆ <ref name=iaunews>{{cite web|title=News Release - IAU0807: IAU names fifth dwarf planet Haumea|work=International Astronomical Union|date=2008-09-17|url=http://www.iau.org/public_press/news/release/iau0807/|accessdate=2008-09-18}}</ref>) ประการสุดท้าย เฮาเมอาเป็นเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์และการให้กำเนิด<ref name = craig/> ตามตำนานกล่าวว่ามีเด็กหลายคนเกิดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายของพระองค์ สอดคล้องกับกลุ่มของก้อนน้ำแข็งที่เชื่อว่าแตกออกมาจากดาว {{mp|2003 EL|61}} ระหว่างเหตุการณ์การชนกันในอดีตครั้งหนึ่ง ดวงจันทร์บริวารทั้งสองซึ่งสันนิษฐานกันว่าเกิดขึ้นมาจากเหตุการณ์นี้เช่นกันจึงได้รับการตั้งชื่อตามธิดาของเฮาเมอาด้วย นั่นคือ [[ฮีอีอากา (ดวงจันทร์)|ฮีอีอากา]] (Hi{{okina}}iaka) และ[[นามากา (ดวงจันทร์)|นามากา]] (Namaka) <ref name=iaunews/>
 
== ดวงจันทร์ ==
เฮาเมอามี[[ดวงจันทร์บริวาร]]เท่าที่ค้นพบแล้ว 2 ดวง คือ [[ฮีอีอากา (ดวงจันทร์)| (136108) ฮีอีอากา]] (Hi{{okina}}iaka) และ [[นามากา (ดวงจันทร์)| (136108) นามากา]] (Namaka) <ref name=usgs>{{cite news| title =USGS Gazetteer of Planetary Nomenclature| url=http://planetarynames.wr.usgs.gov/append7.html| accessdate=2008-09-17}}</ref> ดวงจันทร์ทั้งสองถูกค้นพบเมื่อปี [[พ.ศ. 2548]] เพียงไม่กี่ปีหลังจากที่มี[[การบัง]]ดาวเฮาเมอาของฮีอีอากาเมื่อปี [[พ.ศ. 2542]] ซึ่งการบังของฮีอีอากาจะไม่เกิดขึ้นอีกจนกว่าจะถึงปี [[พ.ศ. 2681]]<ref name=shadows>{{cite web|title=Moon shadow Monday (fixed)|author=Mike Brown|date=2008-05-18|url=http://www.mikebrownsplanets.com/2008/05/moon-shadow-monday-fixed.html|accessdate=2008-09-27}}</ref> แต่นามากามีการบัง 5 ครั้งระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน [[พ.ศ. 2551]]<ref name=shadows/> ทีมของไมก์ บราวน์ได้คำนวณการโคจรและคาดว่าการบังของนามากาอาจเกิดขึ้นอีก 2-3 ปี<ref name=brownblog/>
 
ฮีอีอากาซึ่งทีมแคลเทคตั้งชื่อเล่นว่า "รูดอล์ฟ" (Rudolph) นี้เป็นดวงจันทร์ดวงแรกที่ถูกค้นพบเมื่อวันที่ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2548]]<ref>{{cite journal|author= [[Michael E. Brown|M. E. Brown]], A. H. Bouchez, D. Rabinowitz. R. Sari, C. A. Trujillo, M. van Dam, R. Campbell, J. Chin, S. Hardman, E. Johansson, R. Lafon, D. Le Mignant, P. Stomski, D. Summers, and P. Wizinowich|title=Keck Observatory Laser Guide Star Adaptive Optics Discovery and Characterization of a Satellite to the Large Kuiper Belt Object 2003 EL<sub>61</sub>|journal=The Astrophysical Journal Letters|volume=632|date=2005-09-02|pages=L45-L48|url=http://www.journals.uchicago.edu/doi/pdf/10.1086/497641|doi=10.1086/497641}}</ref> เป็นดวงจันทร์ดวงนอกและดวงที่ใหญ่ที่สุด (ประมาณ 310 กิโลเมตร) และใช้เวลา 49 วันในการโคจรรอบดาวเฮาเมอา<ref name=blitzen>{{cite journal|title=Satellites of the largest Kuiper belt objects|author=M. E. Brown, M. A. van Dam, A. H. Bouchez et. al.|date=2005-10-02|journal=The Astrophysical Journal|volume=639|pages=43–46|url=http://web.gps.caltech.edu/~mbrown/papers/ps/gab.pdf|accessdate=2009-09-29}}</ref>
 
นามากาซึ่งมีชื่อเล่นว่า "บลิตเซน" (Blitzen) ตั้งโดยทีมแคลเทคเช่นกัน<ref>{{cite web|author=Kenneth Chang|title=Piecing Together the Clues of an Old Collision, Iceball by Iceball |url=http://www.nytimes.com/2007/03/20/science/space/20kuip.html |work=[[New York Times]] |publisher= |date=2007-03-20 |accessdate= }}</ref> ได้รับการประกาศการค้นพบเมื่อวันที่ [[7 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2548]] นามากาเป็นดวงจันทร์ที่มีขนาดเล็กกว่าและอยู่รอบใน โดยโคจรรอบดาวเฮาเมอาใช้เวลาประมาณ 34 วัน สันนิษฐานว่ามีวงโคจรเป็นวงกลม<ref name=blitzen/> ระนาบวงโคจรเอียงทำมุมประมาณ 40° จากระนาบวงโคจรของดวงจันทร์ฮีอีอากา<ref name=blitzen/> จากการสังเกตความสว่างของมันคาดว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลางร้อยละ 12 ของดาวเฮาเมอาหรือประมาณ 170 กิโลเมตร<ref name="Johnston">{{cite web|url=http://www.johnstonsarchive.net/astro/astmoons/am-136108.html|author=Wm. Robert Johnston |title= (136108) Haumea, Hi'iaka, and Namaka |date=2008-09-17 |accessdate=2008-09-29 }}</ref> และมีองค์ประกอบของพื้นผิวคล้ายกับของดวงจันทร์ฮีอีอากา
บรรทัด 148:
[[ar:هاوميا (كوكب قزم)]]
[[az:Haumea (cırtdan planet)]]
[[bar: (136108) Haumea]]
[[be:Малая планета Хаўмеа]]
[[be-x-old:Хаўмэя (карлікавая плянэта)]]
บรรทัด 156:
[[cs:Haumea (trpasličí planeta)]]
[[da:Haumea (dværgplanet)]]
[[de: (136108) Haumea]]
[[el:Χαουμέια]]
[[en:Haumea (dwarf planet)]]
บรรทัด 165:
[[fa:هائومیا]]
[[fi:Haumea]]
[[fr: (136108) Haumea]]
[[ga:Haumea (abhacphlainéad)]]
[[gl:Haumea (planeta anano)]]