ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 251:
 
== การยอมรับในสังคม ==
{| class="infobox vevent" style="width: 22em; text-align: left; font-size: 88%; line-height: 1.5em"
{{สถิติบัณฑิตคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|right|200px}}
{| style="text-align:left; font-size:95%; border:1px solid black"
! width=50px| ปีการศึกษา !! width=20 px| ตรี !! width=20 px| โท !! width=20 px| เอก !! width=20 px| รวม
|-
| colspan = 5 style="background-color:green;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | สถิติจำนวนบัณฑิต
|-
| style = "background-color:green;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 2552 || 184 || 56 || 9 || 249
|-
| style = "background-color:green;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 2553 || N/A || N/A || N/A || N/A
|-
| style = "background-color:green;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 2554 || 141 || 44 || 14 || 199
|-
|}
<center><small>N/A คือ ยังไม่มีข้อมูล</small></center>
|}
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาแล้วทั้งสิ้น 7,760 คน (ข้อมูลเดือนมกราคม พ.ศ. 2555)<ref>ทำเนียบนิสิตเก่า คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน 95 ปี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref><ref name="รายงานประเมิน53">คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ, รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน กรกฎาคม 2553</ref><ref>รายงานการประเมินตนเอง คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552</ref><ref>หนังสือกระถินณรงค์ 2555</ref> นิสิต นิสิตเก่า และคณาจารย์ของคณะมีส่วนสำคัญในการผลักดันวิชาชีพเภสัชกรรมให้เป็นที่ยอมรับในสังคม ตั้งแต่การจัดตั้ง[[เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]โดย[[พระมนตรีพจนกิจ]] อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ ร่วมกับเภสัชกรท่านอื่นๆ อีก 64 คน<ref>[http://www.thaipharma.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=500265 ประวัติเภสัชกรรมสมาคมฯ] เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> และมีส่วนในการผลักดันพระราชบัญญัติยาให้เกิดขึ้นในสังคมไทยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2510<ref>ประนอม โพธิยานนท์,รศ.ภญ., วิวัฒนาการวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2530</ref> นอกจากนี้คณาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ยังได้สร้างแผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) เพื่อเป็นหน่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบยาในประเทศไทย และมีผลงานร่วมกับภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในการผลักดันร่างพระราชบัญญัติยาฉบับประชาชน<ref>[http://www.thaidrugwatch.org/news_detail.php?n_no=194 ร่าง พระราชบัญญัติยา พ.ศ. .... (ฉบับประชาชน)] กพย. เรียกข้อมูลวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชนในด้านยาและวัตถุที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อกระตุ้นเตือนประชาชน รวมถึงมีส่วนร่วมในการผลักดันธรรมนูญสุขภาพขึ้นในสังคมไทย<ref>[http://www.thaihealthconsumer.org/ ความเป็นมาของแผนงาน : “ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ” เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของ ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)] เรียกข้อมูล 12 มกราคม พ.ศ. 2555</ref> และยังมีส่วนร่วมในการจัดตั้งมูลนิธิเภสัชศาสตร์เพื่อสังคม (มภส) เพื่อพัฒนาวิชาชีพและการศึกษาเภสัชศาสตร์ในสังคมไทย รวมถึงการมอบรางวัลให้กับเภสัชกรที่ทำประโยชน์แก่สังคม<ref>มูลนิธิเภสัชศาสตร์เพื่อสังคม:แนวคิด ความเป็นมา และเป้าหมาย</ref>