ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สกังก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JackieBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: vi:Mephitidae
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 2:
| name =
| image = Mephitis mephitis - Finnish Museum of Natural History - DSC04656.JPG
| image_caption = [[สกั๊งค์ลายแถบ]] (''Mephitis mephitis'') เป็นสกั๊งค์ที่เป็นที่ีสกั๊งค์ที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดและนิยมเป็นสัตว์เลี้ยง
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 31:
โดยทั่วไปแล้ว สกั๊งค์จะมีขนาดลำตัวยาวตั้งแต่ 40 เซนติเมตร ถึง 70 เซนติเมตร และน้ำหนักที่มีตั้งแต่ 0.5 กิโลกรัม ถึง 10 กิโลกรัม แตกต่างออกไปตามแต่ชนิด มีร่างกายที่ยาวพอสมควร มีขาที่ล่ำสัน และมีกรงเล็บหน้าที่ยาวซึ่งทำให้สามารถขุดดินได้เป็นอย่างดี มีขนหางยาวฟูเป็นพวง สีของขนที่พบได้มากที่สุด คือ สีดำที่มีริ้วเป็นสีขาวคล้ายรูปตัว[[V|วี]] สกั๊งค์ทุกตัวจะมีริ้วลายตั้งแต่เกิด ถึงแม้ว่ารูปแบบของริ้วลายจะแตกต่างกันออกไปโดยขึ้นอยู่กับชนิด ในฤดูหนาวสกั๊งค์จะไม่จำศีลแต่จะเคลื่อนไหวน้อยลง<ref name="สกั๊งค์"/>
 
สกั๊งค์มีประสาทสัมผัสการดมและการได้ยินที่ดีเยี่ยม ทว่ามีประสาทสายตาที่แย่ และเมื่อหลงทา่งทางไม่สามารถจดจำทางถิ่นที่อยู่ของตนเองได้ <ref name="ยำะห">''Pets 101: Pet Skunks'', สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต. ทางทรูวิชั่นส์: พฤหัสบดีที่ 10 มกราคม 2556</ref>
 
สกั๊งค์เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืน แต่ส่วนมากแล้วจะกินเนื้อสัตว์ เช่น [[ไส้เดือน]], [[หนอน]], [[ดักแด้]], [[หอยทาก]] และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ขนาดเล็ก หากมีความจำเป็นยังกินผลไม้ป่าและเมล็ดพืชต่าง ๆ ได้อีกด้วย โดยจะอาศัยอยู่ในสภาพแลดล้อมที่เป็นทุ่งหญ้าโล่งหรือป่าละเมาะ และอาจจะเข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชนเมืองของมนุษย์ได้ เช่น เข้าไปอยู่ใน[[ท่อระบายน้ำ]]หรือโพรงที่ผู้ขุดไว้ ถือว่าเป็น[[สัตว์รังควาน]]จำพวกหนึ่ง<ref name="สกั๊งค์">[http://www.rentokil.co.th/pest-guides/other-wildlife/skunks/index.html สกั๊งค์ คู่มือสัตว์รบกวน]</ref>
 
==การป้องกันตัว==
สกั๊งค์เป็นสัตว์ที่ขึ้นชื่อในเรื่องการป้องกัีนตัวป้องกันตัว ด้วยการฉีดสารเคมีสีเหลืองที่มีกลิ่นฉุนมาก ตลบอบอวลไปในอากาศได้เป็นเวลานาน ซึ่งสารเคมีนี้ปล่อยมาจากต่อมลูกกลมคล้ายลูก[[องุ่น]] 2 ต่อมใกล้ก้น เมื่อสกั๊งค์จะปล่อยจะใช้กล้ามเนื้อบีบพ่นออกมา ซึ่งสามารถพุ่งได้ไกลถึง 25 ฟุต<ref name="ยำะห"/> แม้จะหันหลังให้ก็ตาม แต่ก็สามารถปล่อยได้แม่นยำโดยเฉพาะใส่บริเวณใบหน้าและดวงตาของผู้รุกราน ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้รู้่สึกรู้สึกแสบร้อน และตาบอดไปชั่วขณะ เพื่อที่สกั๊งค์จะได้มีเวลาหนี แต่ก็ไม่สามารถใช้ได้กับสัตว์นักล่าทุกประเภท เช่น [[นกเค้า|นกเค้าใหญ่]]ซึ่งไม่มีประสาทดมกลิ่นและจู่โจมเหยื่อส่วนหลังจากบนอากาศอย่างเงียบเฉียบ และหากสกั๊งค์ปล่อยสารเคมีนี้แล้ว ต้องใช้เวลานานถึง 10 วัน ที่จะผลิตสารนี้ให้เต็ม ดังนั้นสกั๊งค์จึงไม่ใช้วิธีนี้บ่อย ๆ หากไม่จำเป็นจริง ๆ<ref>[http://writer.dek-d.com/JiPpieZz/story/viewlongc.php?id=687461&chapter=331 10 การป้องกันตัวแปลกประหลาดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]</ref>
 
สกั๊งค์ มี[[ฤดูผสมพันธุ์]]ในช่วงต้นของ[[ฤดูใบไม้ผลิ]] มีระยะเวลาการ[[ตั้งท้อง]]ประมาณ 9 สัปดาห์ โดยปกติแล้วจะออกลูกเพียงแค่ครอกเดียวต่อปี และโดยปกติแล้วจะมีลูกประมาณ 3-4 ตัวต่อครอก ลูกสกั๊งค์จะไม่เปิดตาจนกระทั่งมีอายุได้ 3 สัปดาห์ และหย่านมเมื่ออายุได้ 2 เดือน อายุขัยโดยเฉลี่ยในธรรมชาติ สกั๊งค์มีอายุอยู่ได้ได้ระหว่าง 5-6 ปี แต่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ยาวนานมากขึ้นอย่างมากหากอยู่ในที่เลี้่ยงเลี้ยง<ref name="สกั๊งค์"/>
 
ซึ่งสารเคมีที่สกั๊งค์ปล่อยออกมาสามารถเขียนเป็น[[สูตรเคมี|สูตร]]ได้ว่้าว่า
[[Fileไฟล์:SkunkMuskChem.svg|500px500px|center|]]
 
==การจำแนก==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สกังก์"