ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บางกอกอารีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เหมือนข่าวการเมือง = คหสต
บรรทัด 40:
'''บางกอกอารีนา''' ({{lang-en|Bangkok Arena}}) หรือชื่อเดิมว่า '''บางกอกฟุตซอลอารีนา''' เป็น[[สนามกีฬาในร่ม]]ของ[[ประเทศไทย]] ตั้งอยู่บนพื้นที่ 50 ไร่ ภายในศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานคร [[เขตหนองจอก]] [[กรุงเทพมหานคร]] สร้างขึ้นเพื่อรองรับการแข่งขัน[[ฟุตซอลชิงแชมป์โลก]][[ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012|ครั้งที่ 7]] ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยมีโครงการพัฒนาเป็นศูนย์กีฬาทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานครในอนาคต
 
[[สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ]] (ฟีฟ่า) ลงมติให้ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งที่ 7 จึงเริ่มดำเนินโครงการก่อสร้างสนามฟุตซอลเพื่อใช้เป็นสนามหลักในการแข่งขัน พร้อมทั้งการจัดพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขัน ในปี [[พ.ศ. 2553]] [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59|คณะรัฐมนตรี]]ในสมัยที่ซึ่งมี[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]ดำรงตำแหน่ง เป็น[[รายนามนายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] มีมติให้[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ซึ่งที่มี[[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]]ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการ รับผิดชอบโครงการด้วยวงเงินประมาณ 1,300 ล้านบาท โดยลงนามในสัญญาจ้างบริษัท อีเอ็มซี จำกัด (มหาชน) เพื่อเริ่มการก่อสร้าง เมื่อวันที่ [[13 มกราคม]] [[พ.ศ. 2555]]<ref name="EMC">[http://www.emc.co.th/emc/node/117 EMC ลงนามสัญญาจ้างระหว่าง กทม. โครงการสนามกีฬาฟุตซอล (หนองจอก)], [http://www.emc.co.th บริษัท อีเอ็มซี จำกัด (มหาชน)]. (สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2555)</ref> และมีพิธีวางศิลาฤกษ์ โดยหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์เป็นประธานในพิธี เมื่อวันที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2555]]<ref name="stake">[http://web.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=311006 ‘สุขุมพันธุ์’ ถือฤกษ์ลงเสาเข็มสร้างสนามฟุตซอลชิงแชมป์โลกพรุ่งนี้], [[23 มกราคม]] 2555, เนชั่นทันข่าว. (สืบค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2555)</ref>
 
สนามกีฬาออกแบบโดย[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] มีการนำ[[เทคโนโลยี]]การอนุรักษ์[[พลังงาน]]เข้าประยุกต์ใช้ในการออกแบบอาคาร นอกจากนี้ ยังมีการใช้ดอกจอก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจำเขตหนองจอก เป็นแนวคิดในการออกแบบทาง[[สถาปัตยกรรม]]อีกด้วย<ref>[http://www.bmafutsal2012.com/index.php?option=com_content&view=article&id=86&Itemid=67&lang=th ทำความรู้จักกับ Bangkok Futsal Arena], สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2555</ref>
บรรทัด 48:
== ประวัติ ==
=== การออกแบบและจัดหาพื้นที่ก่อสร้าง ===
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ มีมติให้[[ประเทศไทย]]เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 เมื่อวันที่ [[18 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2553]]<ref>[http://www.siamsport.co.th/Sport_Football/100319_151.html ไทยเฮจัดโต๊ะเล็กโลกหนแรกในประวัติศาสตร์], [[19 มีนาคม]] 2553, ข่าวสยามสปอร์ต. (สืบค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2555)</ref> โดย[[กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]]เป็นผู้รับผิดชอบในภาพรวม ต่อมาในเดือน[[สิงหาคม พ.ศ. 2553|สิงหาคมปีเดียวกัน]] [[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] นำเสนอทางเลือกดำเนินการเกี่ยวกับสนามหลักที่ใช้แข่งขัน เพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ฟีฟ่ากำหนดความจุผู้ชมที่ 10,000-15,000 คน ต่อ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59|คณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์]]ในสามรูปแบบคือ การก่อสร้างสนามกีฬาขึ้นใหม่ โดยเลือกจากสองพื้นที่ ได้แก่ที่ดินของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] และที่ดินบริเวณศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการของ[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ที่เขตหนองจอก อีกรูปแบบหนึ่งคือการปรับปรุงสนาม[[อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก|อินดอร์ สเตเดียม]] สนามกีฬาหัวหมาก กับ[[อาคารกีฬานิมิบุตร]] [[กรีฑาสถานแห่งชาติ]]<ref>[http://www.thaileagueonline.com/news.php?id_news=2466 มาร์คหนุนสร้างสนามใหม่รับศึกฟุตซอลโลก ผลักดันเป็นศูนย์กลางอาเซียน], 9 สิงหาคม 2553, [http://www.dailynews.co.th ข่าวเดลินิวส์]. (เนื้อหาจาก www.thaileagueonline.com สืบค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2555)</ref> โดยมีข้อสรุปว่า ให้ใช้ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นสถานที่ดำเนินการก่อสร้าง<ref>[http://www.siamsport.co.th/futsalworldcup2012/history2.php ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 จากสยามสปอร์ต] (สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555)</ref>
 
ในเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2554]] [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59|คณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์]]อนุมัติงบประมาณเพื่อก่อสร้างสนามแห่งนี้ เป็นจำนวนเงิน 1,239 ล้านบาท<ref> [http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9540000056983&CommentReferID=18875658&CommentReferNo=3& รัฐไฟเขียวงบ 1,239 ล้านให้ กทม.สร้างสนามฟุตซอลชิงแชมป์โลกปี'55], 9 พฤษภาคม 2554, www.manager.co.th. (สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2555</ref> โดยกรุงเทพมหานครมอบหมายให้ [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]]เป็นผู้ออกแบบ รวมถึงศึกษาการใช้พื้นที่บริเวณสนาม<ref>[http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROaVoyc3dNVEEwTURNMU5BPT0 'ทยา'เล็งที่'อสมท'สร้างเมนสเตเดี้ยม ทำสนามฟุตซอล-เดินทางสะดวก-อยู่กลางเมือง], 4 มีนาคม 2554, [http://www.khaosod.co.th หนังสือพิมพ์ข่าวสด]. (สืบค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2555)</ref> และลงนามในสัญญาจ้างบริษัท อีเอ็มซี จำกัด(มหาชน)เมื่อวันที่ [[13 มกราคม]] [[พ.ศ. 2555]] <ref name="EMC"/> โดยหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์แจ้งต่อฟีฟ่าว่า กรุงเทพมหานครกำหนดให้สนามแห่งนี้มีชื่อว่า ''บางกอกฟุตซอลอารีนา'' (Bangkok Futsal Arena)<ref>[http://news.voicetv.co.th/sport/32988.html ผู้ว่ากทม.ใช้ Bangkok Futsal Arena เป็นชื่อสนามฟุตซอลโลก], [[7 มีนาคม]] 2555, [http://news.voicetv.co.th ข่าววอยซ์ทีวี]. (สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2555)</ref>
 
=== การก่อสร้างและการตรวจสอบ ===