ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป่าดิบชื้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: kk:Сельва, сельвас (missing)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Forest of Sai Yok National Park.JPG|thumb|ป่าดิบชื้นที่[[อุทยานแห่งชาติไทรโยค]]]]
'''ป่าดิบชื้น''' ({{ภษlang-en|อังกฤษ}}:tropical rain forest}}) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่มีสีเขียวตลอดทั้งปี ต้นไม้จะไม่ผลัดใบในช่วง[[ฤดูแล้ง]] เนื่องจากปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมาก ต้นไม้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ
 
ป่าชนิดนี้มักจะเรียกกันว่าป่าดงดิบ เป็นป่าที่อยู่ในเขตมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดทั้งปี ขึ้นอยู่ตามที่ราบลุ่ม ที่ราบเชิงเขาที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 0-100 [[เมตร]]จาก[[ระดับน้ำทะเลปานกลาง]] (บางครั้งอาจพบอยู่สูงถึงระดับ 250 เมตร) และมีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 2,000 มม./ปี พบมากทางภาคใต้และแถบจังหวัดชายทะเลภาคตะวันออก เช่น [[จังหวัดระยอง]] [[จันทบุรี]] และ[[ตราด]]
 
== พรรณไม้เด่น ==
ลักษณะทั่วไปเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ชั้นบนส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไม้ใน[[วงศ์ยาง]] (Dipterocarpaceae) ซึ่งมีลำต้นสูงใหญ่ตั้งตรง ตั้งแต่ 30-50 เมตร พืชสำคัญที่พบเห็นได้ตามป่าดิบชิ้นทั่วไป ได้แก่ [[ยางมันหมู]] ''Dipterocarpus kerrii'', [[ยางยูง]] ''D. grandiflorus'', [[ยางเสียน]] ''D. gracilis'', [[ยางวาด]] ''D. chartaceus'', [[ยางกล่อง]] ''D. dyeri'', [[ยางเกลี้ยง]] ''D. hasseltii'', [[กะบาก]] ''Anisoptera curtisii'', [[ตะเคียนชันตาแมว]] ''Neobalanocarpus heimii'', [[เคี่ยม]] ''Cotylelobium lanceolatum'', [[ไข่เขียว]] ''Parashorea stellata'', [[ตะเคียนทอง]] ''Hopea odorata'', [[ตะเคียนขาว]] ''H. pedicellata'', [[ตะเคียนแก้ว]] ''H. sangal'', [[ตะเคียนราก]] ''H. latifolia'', [[แอ๊ก]] ''Shorea glauca'', [[สยา]] ''S. laevis'', [[กาลอ]] ''S. faguetiana'', [[ตะเคียนสามพอน]] ''S. gratissima'', [[กะบากหิน]] ''S. hypochra'', [[สยาเหลือง]] ''S. curtisii'', [[มารันตี]] ''S. dasyphylla'', [[สยาขาว]] ''S. leprosula'', [[ชันหอย]] ''S. macroptera'', [[สยาเหลือง]] ''S. parvifolia'', [[มารันตีเสงวาง]] ''S. singkawang'', [[พันจำดง]] ''Vatica lowii'', [[พันจำ]] ''V. odorata''
{{บน}}
* [[ยางมันหมู]] ''Dipterocarpus kerrii''
* [[ยางยูง]] ''D. grandiflorus''
* [[ยางเสียน]] ''D. gracilis''
* [[ยางวาด]] ''D. chartaceus''
* [[ยางกล่อง]] ''D. dyeri''
* [[ยางเกลี้ยง]] ''D. hasseltii''
* [[กะบาก]] ''Anisoptera curtisii''
* [[ตะเคียนชันตาแมว]] ''Neobalanocarpus heimii''
* [[เคี่ยม]] ''Cotylelobium lanceolatum''
* [[ไข่เขียว]] ''Parashorea stellata''
* [[ตะเคียนทอง]] ''Hopea odorata''
* [[ตะเคียนขาว]] ''H. pedicellata''
* [[ตะเคียนแก้ว]] ''H. sangal''
* [[ตะเคียนราก]] ''H. latifolia''
{{กลาง}}
* [[แอ๊ก]] ''Shorea glauca''
* [[สยา]] ''S. laevis''
* [[กาลอ]] ''S. faguetiana''
* [[ตะเคียนสามพอน]] ''S. gratissima''
* [[กะบากหิน]] ''S. hypochra''
* [[สยาเหลือง]] ''S. curtisii''
* [[มารันตี]] ''S. dasyphylla''
* [[สยาขาว]] ''S. leprosula''
* [[ชันหอย]] ''S. macroptera''
* [[สยาเหลือง]] ''S. parvifolia''
* [[มารันตีเสงวาง]] ''S. singkawang''
* [[พันจำดง]] ''Vatica lowii''
* [[พันจำ]] ''V. odorata''
{{ล่าง}}
 
ถัดมาไม้ชั้นกลาง เป็นไม้ต้นขนาดกลางและเล็ก ได้แก่ [[หลุมพอ]] [[สะตอ]] [[ยวน]] [[หยี]] [[สัตบรรณ]] [[ชันรูจี]] [[อินทนิลน้ำ]] [[ปาล์มบังสูรย์]] [[พุงทะลาย]] [[ท้ายเภาขาว]] [[พระเจ้าห้าองค์]] ส่วนพืชชั้นล่างเป็นพืชล้มลุกต่างๆ เช่น [[ระกำ]] [[หวาย]] [[ไผ่]] [[เถาวัลย์]] นอกจากนี้มักพบ พืชอิงอาศัย จำพวก[[เฟิน]] และ[[มอส]] และอาจพบเห็ดราชนิดต่างๆต่าง ๆ ด้วย
 
[[หมวดหมู่:ป่า]]
{{โครง}}
 
[[als:Regenwald]]