ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามแรงบิด (วิทยาศาสตร์เทียม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Darth Prin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
{{Cite journal|last=Бялко|first=А. В.|title=Торсионные мифы|journal=Природа|issue=9|pages=93–102|volume=1998|url=http://www.skeptik.net/pseudo/torsion1.htm|accessdate=2008-02-11}} (''in Russian'') <br> (''English title:'' ) {{Cite journal|last=Byalko|first=A. V.|title=Torsion Myths|journal=Priroda|issue=9|pages=93–102|volume=1998|url=http://www.skeptik.net/pseudo/torsion1.htm}}</ref>) ทฤษฎีสนามแรงบิดถูกใช้ในฐานะคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ต่อ ธรรมชาติบำบัด เทเลพาธี เทเลไคเนซิส การต้านแรงโน้มถ่วง การหายตัวล่องหน เอสเปอร์ และปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติอื่น ๆ <ref>[http://www.phoenixsourcedistributors.com/940614.pdf "Quantum Mechanics and Some Surprises of Creation" in ''CONTACT: The Phoenix Project'' 5.12 (June 14, 1994) pp. 8-10.]</ref> การผูกทฤษฎีสนามแรงบิดเข้าไปทำให้สามารถอ้างอะไร ๆ ก็สามารถเกิดขึ้นได้ ตั้งแต่การเครื่องอุปกรณ์รักษามหัศจรรย์ เช่นเครื่องรักษา[[แอลกอฮอลิซึ่ม|อาการเสพติดแอลกอฮอล์]]<ref name=boyd>{{Cite journal|author=Boyd, R. N.|url=http://www.rialian.com/rnboyd/spinfield-effects.htm|title=Reduction of Physiological Effects of Alcohol Abuse By Substitution of a Harmless Alcohol Surrogate Created by Application of a Spin Field|journal=Application to NIH Alcohol Abuse Center}}</ref>) จนถึงการทำงานของเครื่องจักรกลนิรันดร์ ประตูสารพัดสถานที่ (Stargates) <ref>[http://stardrive.org/Jack/algebra.pdf Sarfatti, J., Sirag, S.-P. "Star Gate Anholonomic Topology-Changing Post-Einstein Geometrodynamics" (2000)]</ref> กลไกการขับเคลื่อนของจานบิน รวมถึง อาวุธมหาประลัย (Weapon of Mass Destruction-WMD) <ref>[http://www.enterprisemission.com/Norway-Message.htm A "Nobel Torsion Message" Over Norway? by Richard C. Hoagland]</ref> อุปกรณ์บางชิ้น เช่น กล่องวิเศษรักษาสารพัดโรค ได้รับการจด[[สิทธิบัตร]]<ref>[http://www.patentstorm.us/patents/6548752-description.html System and method for generating a torsion field - US Patent 6548752]</ref> ผลิต และขาย
 
ทฤษฎีสนามแรงบิด บางครั้งถูกนำเสนอในลักษณะการทดแทน[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] เช่น ทฤษฎี ไอน์สไตน์-คาร์ตาน, gauge theories of gravitation for the Poincaré and the affine groups ซึ่งหาวิธีเพิ่มการบิดของกาลอวกาศเข้าไปกับสภาพความโค้งของแรงโน้มถ่วง และใช้ในการทำนายผลกระทบทางฟิสิกส์ในหลากหลายระดับ อย่างไรก็ตาม ผลของการทำนายของทฤษฎีทดแทนเหล่านี้ มันจะได้ผลในระดับไม่มีนัยสำคัญ หรือขัดแย้งต่อหลักฐานจากการทดลอง<ref name=Rubakov>{{Cite journal|author=Rubakov V.A.|title=Physical Vacuum: Theory, Experiment, Technology" by G.I.Shipov|journal=Physics-Uspekhi|year=2000|volume=170|issue=3|pages=351–352|url=http://www.ufn.ru/ufn2000/ufn00_3/ufn003j.pdf}} (Full text available [http://www.skeptik.net/pseudo/rubakov.htm in Russian]) </ref> มันอาจต้องบ่งชี้ไว้ว่าความโค้งของกาลอวกาศและการบิดเป็นทฤษฎีทางเลือกที่ใช้อธิบายสนาม[[แรงโน้มถ่วง]]และอาจสามารถใช้ทดแทนกันได้ ในขณะที่ความพยายามที่จะรวมผลของมันมาใช้ด้วยกันกลับส่งผลกลายเป็นความเบี่ยงเบน<ref>{{Cite journal|author=Arcos, H. I.|coauthors=Pereira, J. G.|title=Torsion Gravity: A Reappraisal|journal=Int. J. Mod. Phys. D|volume=13|issue=10|pages=2193–2240|date=December 2004 |doi=10.1142/S0218271804006462 |arxiv = gr-qc/0501017 |bibcode = 2004IJMPD..13.2193A }}</ref>
 
== การใช้เงินทุนวิจัย ==