ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงภาพยนตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 19:
 
==ประวัติ==
===ทศวรรษ 2440 - 2460===
 
''ญี่ป่น (วัดตึก ) 2448 ,กรุงเทพซีนีมาโตกราฟ / วังเจ้าปรีดา 2450 ,บางรัก 2451 ,รัตนปีระกา 2452 ,[[พัฒนากร]] 2453 ,พัฒนาลัย ,ปีนัง และ ชะวา 2458 ,บางลำพู 2460 ,ฮ่องกง 2460 ,สาธร 2461 ,นาครเขษม ,นาครศรีธรรมราช (สามแยก ) และ ห้างสิงโตเก่า (เยาวราช ) 2462 ,นาครปฐม (สาธร ) ,นาครราชสีมา (บางลำพูบน ) และ นาครเชียงใหม่ (ตรอกเชียงกง ) 2463 ,(โรงละคร ) ปราโมทัย (สามยอด ) 2465'' <ref>ธนาทิพย์ ฉัตรภูมิ ,ตำนานโรงหนัง ,เวลาดี 2547 ISBN:974-9659-11-2 หน้า 16-20</ref>
 
===ทศวรรษ 2470 - 2480===
 
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงหนังเงียบ เดิมได้รับการปรับปรุงเป็นโรงหนังเสียง เช่น ''พัฒนากร'' หลังจากโปรแกรม ''รบระหว่างรัก'' ของ[[ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง]] (2474)<ref>กาญจนาคพันธุ์ ,ดูหนังดูละคร ,ยุคเพลงหนังและละครในอดีต ,เรืองศิลป์ ,2518 หน้า 112</ref>และหลายแห่งในเครือ บริษัทสหศีนิมา จำกัดได้รับพระราชทานนามจาก[[รัชกาลที่ 7]] ให้ขึ้นต้นด้วย "ศาลา" เช่นเดียวกับ[[ศาลาเฉลิมกรุง]] ค่าตั๋ว 7 ,12 ,25 และ 40 สตางค์ รอบโรงเป็นย่านธุรกิจการค้าและศูนย์ความเจริญของยุค
 
''ศาลาเฉลิมกรุง ถนนเจริญกรุง 2476 ,ศาลาเฉลิมนคร (พัฒนารมณ์ ) ,[[ศาลาเฉลิมบุรี]] (สิงคโปร์ ) ,ศาลาเฉลิมเวียง (ชวา ) ,ศาลาเฉลิมรัฐ (บางรัก ) ,ศาลาเฉลิมราษฎร์ (สาธร ) ,ศาลาเฉลิมธานี (นางเลิ้ง )''<ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 25-26</ref>
 
===ทศวรรษ 2490 - 2510===
 
หลังสงคราม โรงละคร''[[ศาลาเฉลิมไทย]]'' (2492) เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ถนนราชดำนิเนกลาง ปรับเปลี่ยนเป็นโรงหนัง (2496) ไล่เลี่ยกับการกำเนิดสามโรงหนังไม่ไกลกัน คือ ''คิงส์ ,ควีนส์ และ แกรนด์'' ย่านวังบูรพา
 
ช่วงต้นทศวรรษ 2500 ''[[เฉลิมเขตร์]]'' เชิงสะพานยศเส และ ''กรุงเกษม ,พาราเม้าท์ ,เมโทร ,ฮอลลีวูด ,เพชรรามา ฯลฯ''
 
ช่วงต้นทศวรรษ 2510 สามโรงหนัง ศูนย์การค้า[[สยามสแควร์]] ย่านปทุมวัน ''สยาม (2511) ,ลิโด้ (2512) และ สกาล่า (2512)'' จนถึง ''อินทรา'' ประตูน้ำ
 
===ทศวรรษ 2520 - 2540===
 
==ยุคของโรงภาพยนตร์==