ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาจิ้งจอกทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
<
บรรทัด 22:
| range_map_caption = แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของหมาจิ้งจอกทอง
}}
'''หมาจิ้งจอกทอง''' หรือ '''หมาจิ้งจอกเอเชีย''' ({{lang-en|Golden jackal, Common jackal, Asiatic jackal}}) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] อันดับ[[สัตว์กินเนื้อ]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Canis aureus'' ใน[[Canidae|วงศ์สุนัข]] (Canidae) เป็น[[หมาป่า]]ที่มีขนาดเล็กกว่า[[หมาใน]] (''Cuon alpinus'') หูโตและตั้งตรง ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวมี[[สีเทา]]ปน[[สีน้ำตาล|น้ำตาล]] ลักษณะเด่นคือ หางสั้นเป็นพวง ปลายหางมี[[สีดำ]] ขนบริเวณหลังมีสีดำ หมาจิ้งจอกทองตัวเมียมีเต้านม 5 คู่
 
มีลักษณะหูโตและตั้งตรง ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวมี[[สีเทา]]ปน[[สีน้ำตาล|น้ำตาล]] ลักษณะเด่นคือ หางสั้นเป็นพวง ปลายหางมี[[สีดำ]] ขนบริเวณหลังมีสีดำ หมาจิ้งจอกทองตัวเมียมีเต้านม 5 คู่
มีความยาวลำตัวและหัว 60-75 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 20-25 เซนติเมตร น้ำหนัก 8-9 [[กิโลกรัม]] กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง จึงทำให้มี[[พันธุ์ย่อย]] ถึง 13 สายพันธุ์ พบตั้งแต่ใน[[ยุโรปตะวันออก]], [[แอฟริกาเหนือ]], [[แอฟริกาตะวันออก]], [[ตะวันออกกลาง]], [[ปากีสถาน]], [[อัฟกานิสถาน]], [[อินเดีย]], [[เนปาล]], [[สิกขิม]], [[ภูฏาน]], [[พม่า]], [[ไทย]], ภาคเหนือของ[[กัมพูชา]], [[ลาว]] และภาคกลางของ[[เวียดนาม]]
 
มีความยาวลำตัวและหัว 60-75 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 20-25 เซนติเมตร น้ำหนัก 8-9 [[กิโลกรัม]] กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง จึงทำให้มี[[พันธุ์ชนิดย่อย]] ถึง 13 สายพันธุ์ชนิด (สำหรับในประเทศไทย เป็นชนิด ''[[หมาจิ้งจอกอินเดีย|C. a. indicus]]''<ref>''หมาบางแก้ว'' โดย สันต์ นาคะสุวรรณ 88 หน้า, (สำนักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ 2548) ISBN 9789749098806</ref>) พบตั้งแต่ใน[[ยุโรปตะวันออก]], [[แอฟริกาเหนือ]], [[แอฟริกาตะวันออก]], [[ตะวันออกกลาง]], [[ปากีสถาน]], [[อัฟกานิสถาน]], [[อินเดีย]], [[เนปาล]], [[สิกขิม]], [[ภูฏาน]], [[พม่า]], [[ไทย]], ภาคเหนือของ[[กัมพูชา]], [[ลาว]] และภาคกลางของ[[เวียดนาม]]
 
หมาจิ้งจอกทอง สามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่หลากหลายได้ ทั้ง [[ป่าเต็งรัง]], [[ป่าเบญจพรรณ]] หรือพื้นที่เสื่อมโทรมตามหมู่บ้าน กินอาหารได้หลากหลาย ทั้ง[[พืช]]และ[[สัตว์]] เช่น [[นก]], [[สัตว์เลื้อยคลาน]], [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]], ซากพืช ซากสัตว์ บางครั้งอาจขโมยอาหารหรือสัตว์เลี้ยงจาก[[มนุษย์]] หมาจิ้งจอกทองมีระบบประสาทตา หู จมูก ดีเยี่ยม ในช่วงผสมพันธุ์อาจพบเห็นอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ออกล่าเหยื่อใน[[กลางคืน|เวลากลางคืน]]และพักผ่อนใน[[กลางวัน|เวลากลางวัน]] แต่บางครั้งอาจพบเห็นได้ช่วงพลบค่ำหรือเช้าตรู่ ชอบส่งเสียงหอน "ว้อ" เป็นระยะ ๆ ตลอดทั้งคู่ มีพฤติกรรมจับคู่อยู่เป็นผัวเดียวเมียเดียวตลอดชีวิต ตัวผู้มีหน้าที่เลี้ยงดูครอบครัว สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ออกลูกครั้งละ 3-5 ตัว มีระยะเวลาการให้นมลูก 60-63 วัน เมื่อตัวแม่ออกไปหาอาหารมักทิ้งลูกในอยู่ตามลำพัง มีอายุยืนประมาณ 12 ปี ปัจจุบันจัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]]