ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮาร์ดดิสก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Hard disk drive system.jpg|thumb|ฮาร์ดดิสก์ชนิดต่างๆ]]
 
'''ฮาร์ดดิสก์''' ({{lang-en|hard disk drive}}) หรือ '''จานบันทึกแบบแข็ง''' (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุ[[การบันทึกข้อมูลแบบไม่ลบเลือน|ข้อมูลแบบไม่ลบเลือนหน่วยความจำถาวร]] มีลักษณะเป็น[[จาน]]โลหะที่เคลือบด้วยสาร[[แม่เหล็ก]]ซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับ[[มาเธอร์บอร์ดแผงวงจรหลัก]] (motherboard) ที่มี[[อินเตอร์เฟซ]]แบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสาย[[ยูเอสบี]], สาย[[ไฟร์ไวร์]] รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
[[ไฟล์:Intel ssd.jpg|canter|thumb|ฮาร์ดดิสก์ SSD]]
โดยในปี 2008 ได้มีการพัฒนาเป็น [[Hybrid drive]] และ [[SSDโซลิดสเตตไดรฟ์]]
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:HardDiskAnatomy.jpg|thumb|ชิ้นส่วนภายใน ในปี 1997]]
บรรทัด 26:
* ขนาด 8 น้ิว (241.3 มิลลิเมตร × 117.5 มิลลิเมตร × 362 มิลลิเมตร)
* ขนาด 5.25 นิ้ว (146.1 มิลลิเมตร × 41.4 มิลลิเมตร × 203 มิลลิเมตร)
* ขนาด 3.5 นิ้ว (101.6 มิลลิเมตร × 25.4 มิลลิเมตร × 146 มิลลิเมตร) เป็นฮาร์ดดิสก์สำหรับ[[คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ]] (Desktop) หรือ[[คอมพิวเตอร์แม่ข่ายเซิร์ฟเวอร์]] (Server) มีความเร็วในการหมุนจานอยู่ที่ 10,000, 7,200 หรือ 5,400 รอบต่อนาที โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 80 จิกะไบต์ ถึง 3 เทระไบต์
* ขนาด 2.5 นิ้ว (69.85 มิลลิเมตร × 9.5–15 มิลลิเมตร × 100 มิลลิเมตร) เป็นฮาร์ดดิสก์สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา [[Laptop|Notebook หรือ Laptopแล็ปท็อป]], [[UMPC]], [[Netbookเน็ตบุ๊ก]], อุปกรณ์มัลติมีเดียพกพา มีความเร็วในการหมุนจานอยู่ที่ 5,400 รอบต่อนาที โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 60 จิกะไบต์ ถึง 1 เทระไบต์
* ขนาด 1.8 นิ้ว (55 มิลลิเมตร × 8 มิลลิเมตร × 71 มิลลิเมตร)
* ขนาด 1 นิ้ว (43 มิลลิเมตร × 5 มิลลิเมตร × 36.4 มิลลิเมตร)
 
ยิ่งมีความจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยความต้องการของตลาดในปัจจุบันที่ต้องการแหล่งเก็บข้อมูลที่มีความจุในปริมาณมาก มีความน่าเชื่อถือในด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และไม่จำเป็นต้องต่อเข้ากับอุปกรณ์ที่ใหญ่กว่าอันใดอันหนึ่งได้นำไปสู่ฮาร์ดดิสก์รูปแบบใหม่ต่างๆ เช่นกลุ่มจานบันทึกข้อมูลอิสระประกอบจำนวนมากที่เรียกว่าเทคโนโลยี [[RAIDเรด]] รวมไปถึงฮาร์ดดิสก์ที่มีลักษณะเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย เพื่อที่ผู้ใช้จะได้สามารถเข้าถึงข้อมูลในปริมาณมากได้ เช่นฮาร์ดแวร์ NAS [[network attached storageหน่วยเก็บข้อมูลบนเครือข่าย]] เป็นการนำฮาร์ดดิสก์มาทำเป็นเครื่อข่ายส่วนตัว และระบบ SAN ([[Storage area network]]) เป็นการนำฮาร์ดดิสก์มาเป็นพื้นที่ส่วนกลางในการเก็บข้อมูล
 
==ประสิทธิภาพ==
บรรทัด 43:
** แผ่นเทปจะเคลื่อนที่ผ่านหัวอ่านเทปด้วยความเร็ว 2 นิ้วต่อวินาที (5.08 เซนติเมตรต่อวินาที) แต่สำหรับหัวอ่านของฮาร์ดดิสก์ จะวิ่งอยู่บนแผ่นบันทึกข้อมูล ที่ความเร็วในการหมุนถึง 30000 นิ้วต่อวินาที (ประมาณ 170 ไมล์ต่อชั่วโมง หรือ 270 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
** ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เก็บอยู่ในรูปของโดเมนแม่เหล็ก ที่มีขนาดเล็กมากๆ เมื่อเทียบกับโดเมนของเทปแม่เหล็ก ขนาดของโดเมนนี้ยิ่งมีขนาดเล็กเท่าไร ความจุของฮาร์ดดิสก์จะยิ่งมีขนาดเพิ่มขึ้นเท่านั้น และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในเวลาสั้น
* เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะปัจจุบันจะมีความจุของฮาร์ดดิสก์ประมาณ 600 [[จิกะไบต์]] ถึง 40 [[เทระไบต์]]{{อ้างอิง}} ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์ เก็บอยู่ในรูปของไฟล์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่เรียกว่า [[ไบต์]] ([[รหัสแอสกี]] ที่แสดงออกไปตัวอักษร รูปภาพ วิดีโอ และเสียง) โดยที่ไบต์จำนวนมากมายรวมกันเป็นคำสั่ง หรือโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ มีหัวอ่านของฮาร์ดดิสก์อ่านข้อมูลเหล่านี้ และนำข้อมูลออกมาผ่านไปยังตัวประมวลผลเพื่อคำนวณและแปรผลต่อไป
* เราสามารถคิดประสิทธิภาพของฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ทางคือ
** อัตราการส่งผ่านข้อมูล (Data rate) คือ จำนวนไบต์ต่อวินาที ที่หัวอ่านของฮาร์ดดิสก์สามารถจะส่งไปให้กับซีพียูหรือตัวประมวลผล ซึ่งปกติมีอัตราประมาณ 5 ถึง 400 [[เมกะไบต์]]ต่อวินาที {{อ้างอิง}}
บรรทัด 53:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[SSDโซลิดสเตตไดรฟ์]] (Solid State Drive)
* [[ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์]] (Flash Dive)
* หน่วยความจุ
** [[บิต]]
บรรทัด 61:
** [[เมกะไบต์]]
** [[จิกะไบต์]]
** [[เทราไบต์]]
 
== อ้างอิง ==