ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาเฉลิมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 10:
เดิมเป็นอาคารว่างเปล่าแล้วเป็นโกดังเก็บผ้าของทางราชการ ต่อมาบริษัทศิลป์ไทย (ซึ่งมีนาย[[พิสิฐ ตันสัจจา]] เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นด้วย) ได้ขอเช่าพื้นที่ ริเริ่มปรับปรุงต่อเติมเป็นสถานบันเทิง ออกแบบและควบคุมโดย อาจารย์[[ศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา]] สถาปนิกชั้นนำของเมืองไทย ใช้งบประมาณถึง 1 ล้านบาท <ref>ธนาทิพย์ ฉัตรภูติ ,ตำนานโรงหนัง,สำนักพิมพ์เวลาดี 2547,ISBN:974-9659-11-2 หน้า 56-57</ref>
 
เปิดดำเนินการเป็นสถานที่แสดง[[ละครเวที]]อาชีพระหว่าง พ.ศ. 2492 ถึง พ.ศ. 2496 จึงเปลี่ยนเป็น[[โรงภาพยนตร์]] และ

ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ทางศาลาเฉลิมไทยได้จัดแสดงละครเวทีเรื่อง ''พันท้ายนรสิงห์'' เป็นการอำลาอาลัยการปิดตัวถาวร หลังจากนั้นก็ปิดตัวเป็นการถาวร โดยจึงได้ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์ เครื่องฉาย รถขายไอศกรีม ลำโพง และตัวอักษรชื่อโรง และก็นั้นถูกพร้อมกับการรื้อถอนหมดแล้วทั้งหมด เพิ่อสร้างเป็นเพื่อสร้างเป็น[[ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์]] และเผยให้ซึ่งทำให้เห็น[[โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร]] ได้อย่างเต็มที่
 
==ความรุ่งโรจน์และนวัตกรรม==