ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาเฉลิมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
==ความรุ่งโรจน์และนวัตกรรม==
 
ในอดีตได้ชื่อว่าเป็นโรงมหรสพที่ ซึ่งผสมผสานความสง่างามแบบโรงละครในยุโรป กับความหรูหราของศิลปะลวดลายไทยอันวิจิตรที่ทันสมัยยิ่งใหญ่ด้วยเวทีเลื่อนขึ้นลงได้ด้วยระบบไฮดรอลิค <ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 57-58</ref> เพียงแห่งเดียวของเมืองไทย สามารถจุผู้ชม 1,500 ที่นั่ง (ศาลาเฉลิมนคร 800 ที่นั่ง ,ศาลาเฉลิมกรุง 600 ที่นั่ง) ตั้งแต่ยุคละครเวที หลายเรื่องของคณะอัศวินการละครเป็นตำนานที่มีชื่อเสียง เช่น ''[[พันท้ายนรสิงห์]] ,[[บ้านทรายทอง]] ฯลฯ''<ref>อิงคศักดิ์ เกตุหอม ,นี่คือชีวิตของดอกดิน หอภาพยนตร์ชาติ(องค์การมหาชน),2554 ISBN:978-616-543-135-4 หน้า 29-31</ref>เมื่อเข้าสู่ยุคปรับเปลี่ยนเป็นโรงภาพยนตร์ในปี พ.ศ.2496 ได้จัดพื้นที่ซึ่งเป็นต้นแบบของวัฒนธรรมร้านข้าวโพดคั่ว (Pop Corn) อย่างโรงหนังต่างประเทศ และร้านไอศกริมป๊อบ "ตราเป็ด" ที่ดังมากของยุค เป็นสัญลักษณ์มองเห็นได้แต่ไกล และปลายปีนั้นยังได้เป็นแห่งแรกที่ฉายหนังซีเนมาสโคปเรื่องแรกของโลก ''อภินิหารเสื้อคลุม (The Robe)'' ด้วย <ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 60-61</ref>
 
เมื่อเข้าสู่ยุคปรับเปลี่ยนเป็นโรงภาพยนตร์ในปี พ.ศ.2496 ได้จัดพื้นที่ซึ่งเป็นต้นแบบของวัฒนธรรมร้านข้าวโพดคั่ว (Pop Corn) อย่างโรงหนังต่างประเทศ และร้านไอศกริมป๊อบ "ตราเป็ด" ที่ดังมากของยุค เป็นสัญลักษณ์มองเห็นได้แต่ไกล และปลายปีนั้นยังได้เป็นแห่งแรกที่ฉายหนังซีเนมาสโคปเรื่องแรกของโลก ''อภินิหารเสื้อคลุม (The Robe)'' ด้วย <ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 60-61</ref>
นอกจากนี้ยังเป็นแห่งแรกในวงการธุรกิจบันเทิงที่นำความแปลกใหม่มาเสนออย่างต่อเนื่อง เช่น หนังเพลง 70 มม.ระบบทอดด์ เอโอ ''มนต์รักทะเลใต้ (South Pacific)'' ,หนังการ์ตูน 70 มม.เรื่องแรกของโลก ''[[เจ้าหญิงนิทรา]] (Sleeping Beauty)'' ,หนังมหากาพย์สงครามโลก ''วันผด็จศึก (The Longest Day)'' ,หนังซีเนราม่า 3 เครื่องฉาย ''พิชิตตะวันตก (How the West Was Won)'' ,หนังมหากาพย์ทุนมโหฬาร ''[[คลีโอพัตรา]] (Cleopatra)'' ซึ่งเป็นครั้งแรกของโรงหนังเมืองไทยที่ติดตั้งลิฟท์บริการผู้ชมชั้นบน<ref>ข่าวบันเทิง หน้า 13 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ,พ.ศ.2506</ref> และหนังรางวัลออสการ์อีกหลายเรื่อง เช่น ''บุษบาริมทาง (My Fair Lady) ,ดร.ชิวาโก (Dr.Zhivago)'' รวมทั้งหนังไทยซีเนมาสโคปรางวัลตุ๊กตาทอง ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกชาติปี พ.ศ. 2555 เรื่อง ''[[เรือนแพ]]'' ที่กลับมาฉายซ้ำอีก 2-3 ครั้ง
 
นอกจากนี้ยังเป็นแห่งแรกในวงการธุรกิจบันเทิงที่นำผู้นำความแปลกใหม่มาเสนออย่างต่อเนื่อง เช่น หนังเพลง 70 มม.ระบบทอดด์ เอโอ ''มนต์รักทะเลใต้ (South Pacific)'' ,หนังการ์ตูน 70 มม.เรื่องแรกของโลก ''[[เจ้าหญิงนิทรา]] (Sleeping Beauty)'' ,หนังมหากาพย์สงครามโลก ''วันผด็จศึก (The Longest Day)'' ,หนังซีเนราม่า 3 เครื่องฉาย ''พิชิตตะวันตก (How the West Was Won)'' ,หนังมหากาพย์ทุนมโหฬาร ''[[คลีโอพัตรา]] (Cleopatra)'' ซึ่งเป็นครั้งแรกของโรงหนังเมืองไทยที่ติดตั้งลิฟท์บริการผู้ชมชั้นบน<ref>ข่าวบันเทิง หน้า 13 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ,พ.ศ.2506</ref> และหนังรางวัลออสการ์อีกหลายเรื่องอื่นๆ เช่น ''บุษบาริมทาง (My Fair Lady) ,ดร.ชิวาโก (Dr.Zhivago)'' รวมทั้งหนังไทยซีเนมาสโคปรางวัลตุ๊กตาทอง ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกชาติปี พ.ศ. 2555 เรื่อง ''[[เรือนแพ]]'' ที่กลับมาฉายซ้ำอีก 2-3 ครั้ง
 
มีบทบาทสำคัญในช่วงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ [[14 ตุลาคม]] พ.ศ.2516 เป็นทั้งที่หลบภัยและโรงพยาบาลของคนเจ็บจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตย <ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 61</ref>
เส้น 23 ⟶ 25:
[[ไฟล์:ป้ายศาลาเฉลิมไทย.jpg|thumb|left|ภาพป้ายศาลาเฉลิมไทย กองทิ้งอยู่ในร้านขายของเก่า]]
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13755585&x=100504619&z=18&l=0&m=a}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศาลาเฉลิมกรุง]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศาลาเฉลิมกรุง]]
* ศ.ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์, '''นาฎยศิลป์รัชกาลที่ 9''', สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2549.