ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: pa:ਭਾਸ਼ਾ ਵਿਗਿਆਨ
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 77:
{{บทความหลัก|ภาษาศาสตร์แบบกำหนดและภาษาศาสตร์แบบบรรยาย}}
 
งานวิจัยทาง''ภาษาศาสตร์''ส่วนใหญ่มักจะเป็นแบบ''บรรยาย''บริสุทธิ์ ([[:en:descriptive linguistics|purely descriptive]]) นั่นคือ นักภาษาศาสตร์จะหาหนทางเพื่อสร้างความกระจ่างในธรรมชาติของภาษา โดยไม่มีการกำหนดวิธีการล่วงหน้าหรือพยายามที่จะหาทิศทางของภาษาในอนาคต อย่างไรก็ตามมีทั้งนักภาษาศาสตร์มืออาชีพและมือสมัครเล่นที่''กำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์ล่วงหน้า'' (prescribe) ให้กับกฏกฎของภาษา โดยจะมีมาตรฐานเฉพาะเพื่อให้ผู้อื่นได้ปฏิบัติตาม
 
''นักกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์'' (Prescriptivist) มักจะพบได้ในผู้สอนภาษาในระดับต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะมีกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์ชัดเจนที่ตัดสินว่า อะไรถูก อะไรผิด และอาจทำหน้าที่รับผิดชอบการใช้ภาษาอย่างถูกต้องของคนในรุ่นถัดไป ส่วนมากภาษาที่ควบคุมมักจะเป็น[[ภาษาที่ใกล้เคียงภาษามาตรฐาน]] ([[:en:acrolect]]) ของภาษาหนึ่งๆ เหตุที่นักกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์เหล่านี้ไม่สามารถทนเห็นการใช้ภาษาผิดๆ นั้น อาจจะเกิดจากความไม่ชอบใน[[คำที่เกิดขึ้นใหม่]] ([[:en:neologism]]) [[ภาษาถิ่นที่สังคมไม่ยอมรับ]] ([[:en:basilect]]) หรือความขัดแย้งเพียงเล็กน้อยกับทฤษฎีที่เข้มงวด นักกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์สุดโต่งอาจจะพบเห็นได้ในกลุ่มนักเซ็นเซอร์ ซึ่งเป้าหมายของคนกลุ่มนี้คือกำจัดคำและโครงสร้างไวยากรณ์ที่คิดว่าจะบ่อนทำลายสังคม
 
ในทางกลับกัน ''นักอธิบายกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์'' (Descriptivist) จะพยายามหารากเหง้าของ''การใช้ภาษาไม่ถูกต้อง'' นักอธิบายกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์จะอธิบายการใช้ภาษาแบบดังกล่าวให้เป็น''[[การใช้ภาษาเฉพาะแบบ]]'' (idiosyncratic usage) หรืออาจจะค้นพบกฏกฎซึ่งอาจจะขัดกับนักกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์ [[ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย]] ([[:en:descriptive linguistics]]) ตามบริบทของ[[งานภาคสนาม]] ([[:en:fieldwork]]) จะหมายถึงการศึกษาภาษาโดยแนวทางของนักอธิบายกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์ (มากกว่าที่จะเป็นแนวทางของนักกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์) วิธีการของนักอธิบายกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์จะใกล้เคียงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในสายวิชาการอื่นๆ มากกว่าวิธีการของกำหนดกฎเกณฑ์
 
== ภาษาพูดและภาษาเขียน ==
บรรทัด 140:
 
[[นักภาษาศาสตร์]]ในยุคเริ่มต้น ได้แก่
* [[จาค็อบ กริมม์]] ([[:en:Jakob Grimm]]) ผู้ซึ่งเสนอหลักของ[[การเลื่อนเสียงพยัญชนะ]] ([[:en:Consonantal shift]]) ในการสะกด ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม ''[[กฏกฎของกริมม์]]'' ([[:en:Grimm's Law]]) ในปี พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822)
* [[คาร์ล เวอร์เนอร์]] ([[:en:Karl Verner]]) ผู้ซึ่งค้นพบ[[กฏกฎของเวอร์เนอร์]] ([[:en:Verner's Law]])
* [[เอากุสต์ ชไลเคอร์]] ([[:en:August Schleicher]]) ผู้ซึ่งสร้าง [[ทฤษฎีชทัมบาว์ม]] ([[:en:Stammbaumtheorie]] /ชทัม-บาว์ม-เท-โอ-รี/)
* [[โยฮันเนส ชมิดท์]] ([[:en:Johannes Schmidt]]) ผู้ซึ่งพัฒนา[[แบบจำลองคลื่น]] ([[:en:Wellentheorie]] /เฟฺวล-เลน-เท-โอ-รี/) ในปี พ.ศ. 2415
บรรทัด 160:
== มุมมองแคบของภาษาศาสตร์ ==
 
คำว่า ''ภาษาศาสตร์'' และ ''นักภาษาศาสตร์'' อาจจะไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางอย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างบนก็ได้ ในบางกรณี คำนิยามที่ดีที่สุดสำหรับคำว่า ''ภาษาศาสตร์'' คงจะเป็น ''วิชาที่สอนกันในภาควิชาภาษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย'' และ ''นักภาษาศาสตร์'' ก็คงจะเป็น ''ผู้ที่เป็น[[ศาสตราจารย์]]ในภาควิชาภาษาศาสตร์'' ภาษาศาสตร์ในมุมมองแคบมักจะไม่ได้กล่าวถึงการเรียนเพื่อพูดภาษาต่างประเทศ (ยกเว้นว่าจะช่วยให้เห็นโมเดลฟอร์มอลของภาษาได้ดีขึ้น) และก็ไม่ได้รวมเอา[[การวิเคราะห์วรรณกรรม]] (Literary analysis) ไว้เลย มีเพียงบางครั้งเท่านั้นที่อาจจะมีการศึกษาเนื้อหาบางอย่างตามความจำเป็น เช่น [[อุปลักษณ์]] (metaphor]]) บางครั้งนิยามเหล่านี้ก็ไม่สามารถนำมาใช้กับงานวิจัยในแนวกำหนดกฏเกณฑ์กฎเกณฑ์ได้ ดังเช่นที่พบในงาน ''[[มูลฐานแห่งวัจนลีลา]]'' (The Element of Style) ของ [[วิลเลี่ยม สทรังค์ จูเนียร์|สทรังค์]] (William Strunk, Jr.) และ [[อี. บี. ไวท์|ไวท์]] (E. B. White) นักภาษาศาสตร์มักจะเป็นผู้ค้นหาว่าผู้ใช้ภาษาใช้ภาษาอย่างไร มากกว่าที่จะไปกำหนดว่าผู้ใช้ภาษาควรใช้ภาษาอย่างไร การตัดสินว่าใครเป็นหรือไม่เป็น''นักภาษาศาสตร์''นั้น เป็นไปได้ว่าต้องใช้เวลานานในการตัดสิน
 
== ดูเพิ่ม ==