ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
: {{SubatomicParticle|Electron|link=yes}} + {{SubatomicParticle|Positron|link=yes}} → {{SubatomicParticle|Gamma|link=yes}} + {{SubatomicParticle|Gamma|link=yes}}
 
เมื่ออิเล็กตรอนพลังงานต่ำเข้าประลัยกับโพสิตรอนพลังงานต่ำ (แอนติอิเล็กตรอน) พวกมันสามารถผลิต[[โฟตอน]][[รังสีแกมมา]] ([[gamma ray]] photons) เป็นจำนวนสองตัวหรือมากกว่านั้นออกมา เนื่องจากอิเล็กตรอนและโพสิตรอนจะไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ อย่างเพียงพอกับ[[ความสมมูลระหว่างมวล-พลังงาน]] ([[mass-energy]]) ในการผลิตอนุภาคหนักและการอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัมเชิงเส้นที่ไม่อนุญาติให้สร้างโฟตอนเพียงหนึ่งอนุภาค เมื่ออิเล็กตรอนและโพสิตรอนเข้าชนกันเพื่อที่จะประลัยกันและสร้างรังสีแกมมา จะได้พลังงานออกมา อนุภาคทั้งสองมีพลังงานของมวลเมื่ออยู่นิ่งเป็น 0.511 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) เมื่อมวลของอนุภาคทั้งสองถูกแปลงเป็นพลังงานทั้งหมดพลังงานของมวลนิ่งนี้คือสิ่งที่จะถูกปลดปล่อยออกมา พลังงานจะถูกปล่อยออกมาในรูปของรังสีแกมมาดังกล่าวข้างต้น แต่ละรังสีแกมมาจะมีพลังงานอยู่ที่ 0.511 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) เนื่องจากทั้งโพสิตรอนและอิเล็กตรอนมีช่วงเวลาสั้น ๆ ที่หยุดนิ่งในช่วงระหว่างการประลัยนี้ระบบจะไม่มีโมเมนตัมในช่วงเวลาขณะนั้นเลย นี่คือเหตุผลที่ว่าทำไมรังสีแกมมาทั้งสองจึงได้ถูกสร้างขึ้น (เพื่อให้เป็นไปตามกฏการอนุรักษ์โมเมนตัมและพลังงาน)
 
===อ้างอิง===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ประลัย"