ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลอเร็มอิปซัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ในการพิมพ์และ[[กราฟิกดีไซน์]] ข้อความ '''โลเร็ม อิปซัม'''<ref name="SDop" /> ({{lang-la|lorem ipsum}}) เป็นข้อความแทนที่ (placeholder text) ที่ใช้สำหรับการแสดงลักษณะองค์ประกอบของกราฟิกหรือสื่อนำเสนอ เช่น [[ฟอนต์]] การพิมพ์และการจัดหน้า และเพื่อลดความสนใจต่อข้อความที่นำมาแสดง ข้อความโลเร็ม อิปซัมเป็นข้อความส่วนหนึ่งใน[[ภาษาละติน]]ที่แต่งโดย[[ซิเซโร]]โดยมีการตัดต่อคำให้ดูเหมือนเป็นข้อความที่ไม่มีความหมายและไม่ใช่ภาษาละตินที่ถูกต้อง<ref name="SDop">{{citation |title=What does the filler text "lorem ipsum" mean?|first=Cecil |last=Adams |publisher=The Straight Dope |date=February 2001 |url=http://www.straightdope.com/columns/read/2290/ }}</ref>
 
แม้ว่าข้อความโลเร็ม อิปซัมจะก่อให้เกิดข้อสังเกตว่ามีลักษณะเหมือนภาษาละตินคลาสสิก แต่ข้อความดังกล่าวก็หามีเจตนาที่จะมีความหมายไม่ ในเอกสารต่าง ๆ ถ้าข้อความสามารถอ่านได้ บุคคลจะพุ่งความสนใจไปยังข้อความเสียจนไม่สนใจการจัดหน้าและรูปแบบ ดังนี้ผู้พิมพ์จึงใช้ข้อความโลเร็ม อิปซัมเพื่อแสดง[[ไทป์เฟซ]]หรือลักษณะการออกแบบ เพื่อให้บุคคลพุ่งความสนใจไปที่รูปแบบการพิมพ์ มิใช่ข้อความ นอกจากในประเด็นของภาษาละตินแล้ว โลเร็ม อิปซัมยังมีความหมายในเชิงสิ่งที่อ่านไม่ออก (greeking ที่มาจากสำนวน greek to me) อีกด้วย
==ตัวอย่างข้อความ==
ตัวอย่างข้อความโลเร็ม อิปซัมคือ
{| width=580px
|width="25px" |<!--indenter column-->
| {{lorem ipsum|cat=no}}
|}
บางฉบับของข้อความใช้คำว่า adipisici แทน adipiscing เพราะการใช้อักษรคู่เสียงเดี่ยว ng ท้ายคำเป็นสิ่งที่แปลกในภาษาละตินคลาดสิก บางฉบับมีการเติมข้อความอื่น ๆ ลงไปอีกเพื่อว่าในอีกวรรคหนึ่งคำบางคำที่ติดขอบจะได้อยู่ด้วยกันโดยไม่ต้องแยก (word-wrap)
 
==อ้างอิง==
เส้น 9 ⟶ 16:
 
==ดูเพิ่ม==
* [[ETAOIN SHRDLU]]
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons|Lorem ipsum|Lorem ipsum}}
{{wikisource|en:Lorem ipsum}}