ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนแมนตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: en:Manta rayen:Giant Oceanic Manta Ray
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| trend = unknown
| image = Manta birostris-Thailand4.jpg
| image_caption = ปลากระเบนราหูแปซิฟิกที่[[หินแดง]]
| image2 = P2140268_Manta_Ray.jpg
| image2_caption = ปลากระเบนราหูแปซิฟิกที่[[มัลดีฟส์]]
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
| classis = [[Chondrichthyes]]
| subclassis = [[Elasmobranchii]]
| superordo = [[ปลากระเบน|Batoidea]]
| ordo = [[Myliobatiformes]]
| familia = [[Myliobatidae]]
 
| subfamilia = [[Myliobatidae|Mobulidae]]
| genus = ''[[ปลากระเบนแมนตา|Manta]]''
 
| genus_authority = Bancroft, [[ค.ศ. 1829|1829]]
| species = '''''M. birostris'''''
| binomial = ''Manta birostris''
บรรทัด 37:
ปลากระเบนแมนตาเคยหาอาหารตามพื้นท้องทะเลมาก่อน ก่อนที่จะ[[วิวัฒนาการ]]มาเป็นกรองกิน[[แพลงก์ตอน]]ตาม[[ทะเล]]เปิดในปัจจุบัน ทำให้สามารถเจริญเติบโตได้จนมีขนาดใหญ่มากกว่าปลากระเบนชนิดอื่น ๆ
 
ลักษณะการกรองกินทำให้ฟันลดขนาดลงเป็นซี่เล็ก ๆ ส่วนใหญ่แอบอยู่ใต้ผิว คล้ายกับปลากระเบนทั่วไป กระเบนราหูมีหางเป็นเส้นยาว แต่หากปราศจากเงี่ยงที่ส่วนหาง และเกล็ดแหลมหุ้มลำตัวก็มีขนาดเล็กลง แทนที่ด้วยเมือกหนาหุ้มร่างกาย ส่วน [[spiracle |ท่อน้ำออก]]มีขนาดเล็กและไม่ทำหน้าที่ น้ำทั้งหมดไหลเข้าสู่ปากแทน
 
เพื่อการว่ายน้ำที่ดี ปลากระเบนแมนตาวิวัฒนาการรูปร่างร่างกายให้เป็น[[รูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว|สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด]] และมีการพัฒนาครีบให้คล้ายปีกสำหรับโบยบินในท้องทะเล ขนาดตัวยักษ์ใหญ่และความเร็วชนิดใกล้เคียงจรวด ทำให้ปลากระเบนแมนตามีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมาก โดยที่ศัตรูของปลากระเบนแมนตาใน[[น่านน้ำไทย]]กลุ่มเดียว คือ[[วาฬเพชรฆาต]] (''Orcinus orca'') และ[[Pseudorca crassidens|วาฬเพชรฆาตเทียม]] (''Pseudorca crassidens'') แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานแน่นอน
 
โดยปกติแล้วกิน[[แพลงก์ตอน]], ตัวอ่อนปลา และสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ทั่วไปโดยการกรองน้ำที่ไหลเข้าสู่ปากโดยใช้ซี่เหงือก ซึ่งเรียกว่า ramแรม-เจ็ต (Ram-jet)
 
ในเชิง[[อนุกรมวิธาน]]แล้ว ปลากระเบนแมนตายังมีการจัดจำแนกที่ไม่ชัดเจน โดยอาจแบ่งได้ถึง 3 [[สปีชีส์|ชนิด]]ที่มีการจัดนำแนกไว้ ได้แก่ ''Manta birostris, Manta ehrenbergii'' และ '' Manta raya'' โดยชนิดแรกสุดมีขนาดเล็กกว่า และสองชนิดหลังนั้นอาจเป็นเพียงประชากรที่แยกตัวกันมานานแสนนาน เดิมทีแล้ว [[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ของปลากระเบนแมนตาถูกจัดอยู่ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] [[Myliobatidae|Mobulidae]] แต่ในปัจจุบันถือเป็นวงศ์ย่อยในวงศ์ [[Myliobatidae]] ซึ่งมี[[Aetobatus|ปลากระเบนนก]]เป็นปลาร่วมวงศ์ และทำให้ปลากระเบนแมนตา เป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Manta''
 
สามารถถูกพบเห็นได้บ่อยตามแนวปะการังของ[[มหาสมุทรอินเดีย]] โดยเฉพาะหมู่เกาะ[[มัลดีฟส์]], [[หมู่เกาะสุรินทร์]] รวมไปถึง[[หมู่เกาะสิมิลัน]]ของไทย โดยเฉพาะ [[หินแดง]], [[เกาะบอน]], เกาะตอรินลา, และ[[เกาะตาชัย]] พบได้บ่อยในทางด้าน[[อ่าวไทย]]เช่นกัน เช่น หินใบ, [[เกาะพงัน]] และกองหินโลซินอันห่างไกล