ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้บัญชาการทหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''จอมทัพ''' ({{lang-en|Commander-in-chief}}) เป็นตำแหน่งสูงสุดในกองทัพของแต่ละประเทศ ซึ่งผู้ดำรงตำแหน่งจอมทัพสามารถมียศทหารทั้ง 3 เหล่า คือ [[จอมพล]] [[จอมพลเรือ]] และ[[จอมพลอากาศ]] จอมทัพจึงเป็นตำแหน่ง<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/047/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 10 พระมหากษัตริย์ทรงดำรง'''ตำแหน่ง''' จอมทัพไทย ]</ref> ไม่ใช่ยศทหาร และโดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพคือ[[ประมุขของรัฐ]]ซึ่งอาจเป็น[[พลเรือน]]ก็ได้
 
สำหรับใน[[ประเทศไทย]] ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพ คือ [[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]]
 
คำว่า ''"Generalissimo"'' เป็นคำใน[[ภาษาอิตาเลียน]] มาจากคำว่า ''generale'' ประสมกับส่วนต่อท้ายคำ ''-issimo'' ซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]] ''-issimus''<ref>{{cite encyclopedia|title= Webster's Third New International Dictionary}}, French ''Larousse Étymologique''.</ref> ซึ่งหมายถึง "อย่างที่สุด, ไปจนถึงขั้นสูงสุด"
 
ประวัติศาสตร์ทางทหาร ยศทหารชั้นจอมพลที่มอบให้กับนายทหารที่บัญชาการกองทัพหรือกองกำลังติดอาวุธทั้งหมด โดยขึ้นตรงต่อประมุขของประเทศเท่านั้น จอมทัพเป็นผู้คุมอำนาจทางทหารอย่างเบ็ดเสร็จในบางครั้ง คำว่า "Generalissimo" ถูกใช้ในภาษาอังกฤษสมัยใหม่ โดยมีความหมายถึง นายทหารผู้ซึ่งได้รับอำนาจทางการเมืองจากการก่อรัฐประหาร หรือในบางกรณีที่หมายถึงผู้ที่สั่งระงับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า เพื่อที่จะครอบครองอำนาจด้วยวิธีทางทหาร
 
 
== ดูเพิ่ม ==