ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวางป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| name = กวางป่า
| status = LR/lc
| image = Sambar Deer (Cervus unicolor)Sambhar-32.jpgJPG
| image_width = 250px
| regnum = [[Animal]]ia
บรรทัด 25:
กวางป่า สามารถปรับตัวให้อยู่ในป่าได้แทบทุกสภาพ ทั้งป่ารกชัฏ, ป่าโปร่ง, ทุ่งหญ้า รวมทั้งป่าเสื่อมโทรมที่ถูกแผ้วถางมาก่อน ปกติมักอาศัยและหากินเพียงลำพัง ออกหากินในเวลากลางคืน กิน[[หญ้า]] และลูกไม้ที่ร่วงตกจากต้น ใบไผ่ และใบไม้ต่าง ๆ ตามพื้นดิน นอนหลับตามป่าทึบในเวลากลางวัน ว่ายน้ำเก่ง สามารถว่ายน้ำได้เป็นระยะทางไกล ๆ เมื่อพบกับศัตรูเช่น [[หมาใน]] จะวิ่งหนีลงไปแช่น้ำในน้ำลึก กวางตัวผู้จะผลัดเขาปีละ 1 ครั้ง ในช่วงเดือน[[มีนาคม]]และ[[เมษายน]] หลังจากนั้นเขาอ่อนจะค่อย ๆ งอกมาแทนที่
 
ปัจจุบัน ถูกเพาะเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]] โดยนิยมเรียกว่า "กวางรูซ่า" หรือ "กวางแซมบ้า"<ref>[http://www.dld.go.th/lcrr_rri/DATA/Deer%20Farm1.htm กวางสัตว์เศรษฐกิจตัวใหม] ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์</ref>
 
== ลักษณะ ==
[[File:4. antlers unicolor.png|thumb|200px|left|ภาพวาดกะโหลก]]
กวางป่ามีลักษณะที่หลากหลายเนื่องจากมีการกระจายพันธุ์ที่กว้าง ในอดีตเคยสร้างความสับสนในการจัดจำแนกทางอนุกรมวิธานมาแล้ว จึงทำให้กวางป่ามี[[ชื่อพ้อง]]มากกว่าสี่สิบชื่อ โดยทั่วไปแล้ว กวางป่าสูง 102 - 160 เซนติเมตร (40 - 63 นิ้ว) จรดไหล่ อาจหนักได้มากถึง 546 กิโลกรัม (1,200 ปอนด์) แต่โดยทั่วไปหนัก 100 - 350 กิโลกรัม (220 - 770 ปอนด์)<ref name="Burnie">Burnie D and Wilson DE (Eds.), ''Animal: The Definitive Visual Guide to the World's Wildlife''. DK Adult (2005), ISBN 0789477645</ref><ref>{{cite web|url=http://placentation.ucsd.edu/sdeer.html |title=Comparative Placentation |publisher=Placentation.ucsd.edu |date= |accessdate=2012-08-17}}</ref> หัวถึงลำตัวยาว 1.62 - 2.7 เมตร (5.3 - 8.9 ฟุต) หางยาว 22 - 35 เซนติเมตร (8.7 - 14 นิ้ว)<ref>Boitani, Luigi, ''Simon & Schuster's Guide to Mammals''. Simon & Schuster/Touchstone Books (1984), ISBN 978-0-671-42805-1</ref> กวางชนิดย่อยฝั่งตะวันตกมีขนาดใหญ่กว่ากวางฝั่งตะวันออก ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้<ref name=Leslie2011>{{cite journal | author = Leslie, D.M. | year = 2011 | title = ''Rusa unicolor'' (Artiodactyla: Cervidae) | journal = Mammalian Species | volume = 43 | issue = 1 | url=http://www.asmjournals.org/doi/full/10.1644/871.1 | pages = 1–30 | doi = 10.1644/871.1}}</ref> ถ้าไม่นับ[[กวางมูส]]และ[[กวางเอลก์]]แล้ว กวางป่านับว่าเป็นกวางขนาดใหญ่ที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.dpi.vic.gov.au/game-hunting/game/deer |title=Deer - Department of Primary Industries |publisher=Dpi.vic.gov.au |date=2012-01-03 |accessdate=2012-08-17}}</ref>
 
กวางในสกุล ''Rusa'' จะมีเขาขนาดใหญ่ ขรุขระ มีกิ่งรับหมา ลำเขาแตกกิ่งที่ปลาย เขามีสามกิ่ง เขายาวได้ถึง 110 ซม (43 นิ้ว) เมื่อโตเต็มที่ มีเขาเฉพาะในกวางตัวผู้เท่านั้น<ref name=Leslie2011/>
 
มีขนหยาบยาวสีน้ำตาลออกเหลืองถึงเทาเข้ม ชนิดย่อยบางชนิดมีสีน้ำตาลแก่ที่ตะโพกและส่วนท้อง กวางป่ามีแผงขนคอสั้นแต่หนา สังเกตุเห็นได้ชัดในกวางตัวผู้ หางยาวกว่ากวางชนิดอื่น มีสีดำส่วนล่างสีขาว<ref name=Leslie2011/>
 
กวางป่าตัวผู้ กวางตัวเมียที่ท้อง หรืออยู่ในระยะให้นมลูก มักเป็นเรื้อนซึ่งเป็นแผลถลอกแดงใต้คอ บางครั้งมีของเหลวสีขาวไหลออกมา<ref name="Valerius 2008"/>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://siamensis.org/content/1937 กวางป่า] siamensis.org
{{จบอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Cervus unicolor}}