ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางประทานพร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ปางประทานพร.jpg|thumb|200250px|ลักษณะพระพุทธรูปปางประทานพร]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ปางประทานพร''' เป็นชื่อเรียกของ[[พระพุทธรูป]]ลักษณะ ทำห้อยพระหัตถ์เบื้องขวา หันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้าเป็นเครื่องหมาย แต่ส่วนองค์พระพุทธรูปนั้นทำท่านั่งขัดสมาธิอย่าง[[ปางสมาธิ]] ยืน หรือเดิน
[[ไฟล์:ปางประทานพร.jpg|thumb|200px|ลักษณะพระพุทธรูปปางประทานพร]]
 
'''ปางประทานพร''' เป็นชื่อเรียกของ[[พระพุทธรูป]]ลักษณะ ทำห้อยพระหัตถ์เบื้องขวา หันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้าเป็นเครื่องหมาย แต่ส่วนองค์พระพุทธรูปนั้นทำท่านั่งขัดสมาธิอย่าง[[ปางสมาธิ]] ยืน หรือเดิน
== ประวัติ ==
=== ปางประทานพรในท่านั่ง ===
* '''ปางประทานพรในท่านั่ง''' เมื่อครั้งพระอานนท์ถูกเลือกให้ทำหน้าที่เป็นพระอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้า ท่านได้ขอพร 8 ประการ จากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร 4 ข้อแรก ได้แก่ '''1.ไม่ประทานจีวรอันประณีตแก่ท่าน''' '''2.ไม่ประทานบิณฑบาตอันประณีตที่พระองค์ได้มาแก่ท่าน''' '''3.ไม่ประทานให้ท่านอยู่คันธกุฏิเดียวกับพระพุทธองค์''' '''4.ไม่ทรงพาท่านไปในที่นิมนต์''' '''5.ขอให้พระพุทธองค์ไปในที่นิมนต์ที่ท่านรับไว้''' '''6.ถ้าท่านนำพุทธบริษัทมาจากแดนไกลขอให้ได้เข้าเฝ้าทันที''' '''7.ถ้าท่านมีความสงสัยขอให้ถามท่านได้ทันที''' และข้อสุดท้ายคือ '''8. ถ้าพระพุทธองค์ทรงไปแสดงพระธรรมที่ไหน ถ้าท่านไม่ได้ฟัง ขอให้แสดงแก่ท่านอีกครั้งหนึ่ง''' ทั้งนี้เพื่อป้องกันคำครหาว่าท่านอุปัฏฐากแล้วไม่ได้รับความเอื้อเฟื้อจากพระพุทธองค์เลยพระพุทธองค์ได้ประทานพรทั้ง 8 ประการ แก่พระอานนท์
เมื่อครั้งพระอานนท์ถูกเลือกให้ทำหน้าที่เป็นพระอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้า ท่านได้ขอพร 8 ประการ จากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร 4 ข้อแรก ได้แก่
* '''ปางประทานพรในท่ายืน''' เมื่อนางมหาอุบาสิกาวิสาขา บุตรีของธนัญชัยเศรษฐี ซึ่งเป็นหญิงที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเบญจกัลยาณี ได้แก่ มีผมงาม เนื้องาม ฟันงาม ผิวงาม วัยงาม นางมีศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก และได้บรรลุเป็นพระโสดาบันเป็นอริยะบุคคลตั้งแต่อายุ 7 ขวบ ในช่วงฤดูฝนในพรรษาหนึ่ง นางวิสาขาไให้นางทาสีของนางมานิมนต์พระภิกษุ พอดีฝนตก พระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร นางทาสีเข้าใจว่าเป็นนักบวชลัทธิชีเปลือย จึงกลับไปบอกนางวิสาขา หลังจากถวายภัตตาหารและพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทำภัตกิจเสร็จแล้ว นางวิสาขาจึงกราบทูล'''ขอประทานพรจากพระพุทธองค์'''เพื่อถวายสิ่งของต่าง ๆ แก่ภิกษุ ภิกษุณี ได้แก่ 1.ผ้าอาบน้ำฝน 2. อาหารสำหรับภิกษุอาคันตุกะ 3.อาหารสำหรับภิกษุผู้เตรียมจะไป 4.อาหารสำหรับภิกษุป่วยไข้ 5.อาหารสำหรับภิกษุผู้พยาบาลภิกษุ 6.ยาสำหรับภิกษุผู้ป่วยไข้ 7.ขอให้ได้ถวายข้าวยาคู 8.ผ้าอาบน้ำสำหรับภิกษุณี พระพุทธองค์ทรงประทานพรทั้ง 8 ข้อแก่นางวิสาขา
 
# ไม่ประทานจีวรอันประณีตแก่ท่าน
# ไม่ประทานบิณฑบาตอันประณีตที่พระองค์ได้มาแก่ท่าน
# ไม่ประทานให้ท่านอยู่คันธกุฏิเดียวกับพระพุทธองค์
# ไม่ทรงพาท่านไปในที่นิมนต์
# ขอให้พระพุทธองค์ไปในที่นิมนต์ที่ท่านรับไว้
# ถ้าท่านนำพุทธบริษัทมาจากแดนไกลขอให้ได้เข้าเฝ้าทันที
# ถ้าท่านมีความสงสัยขอให้ถามท่านได้ทันที
# ถ้าพระพุทธองค์ทรงไปแสดงพระธรรมที่ไหน ถ้าท่านไม่ได้ฟัง ขอให้แสดงแก่ท่านอีกครั้งหนึ่ง
 
ทั้งนี้เพื่อป้องกันคำครหาว่าท่านอุปัฏฐากแล้วไม่ได้รับความเอื้อเฟื้อจากพระพุทธองค์เลยพระพุทธองค์ได้ประทานพรทั้ง 8 ประการ แก่พระอานนท์
 
=== ปางประทานพรในท่ายืน ===
* '''ปางประทานพรในท่ายืน''' เมื่อนางมหาอุบาสิกาวิสาขา บุตรีของธนัญชัยเศรษฐี ซึ่งเป็นหญิงที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเบญจกัลยาณี ได้แก่ มีผมงาม เนื้องาม ฟันงาม ผิวงาม วัยงาม นางมีศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก และได้บรรลุเป็นพระโสดาบันเป็นอริยะบุคคลตั้งแต่อายุ 7 ขวบ ในช่วงฤดูฝนในพรรษาหนึ่ง นางวิสาขาไให้นางทาสีของนางมานิมนต์พระภิกษุ พอดีฝนตก พระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร นางทาสีเข้าใจว่าเป็นนักบวชลัทธิชีเปลือย จึงกลับไปบอกนางวิสาขา หลังจากถวายภัตตาหารและพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทำภัตกิจเสร็จแล้ว นางวิสาขาจึงกราบทูล'''ขอประทานพรจากพระพุทธองค์'''เพื่อถวายสิ่งของต่าง ๆ แก่ภิกษุ ภิกษุณี ได้แก่ 1.ผ้าอาบน้ำฝน 2. อาหารสำหรับภิกษุอาคันตุกะ 3.อาหารสำหรับภิกษุผู้เตรียมจะไป 4.อาหารสำหรับภิกษุป่วยไข้ 5.อาหารสำหรับภิกษุผู้พยาบาลภิกษุ 6.ยาสำหรับภิกษุผู้ป่วยไข้ 7.ขอให้ได้ถวายข้าวยาคู 8.ผ้าอาบน้ำสำหรับภิกษุณี พระพุทธองค์ทรงประทานพรทั้ง 8 ข้อแก่นางวิสาขา
 
== ความเชื่อและคตินิยม ==
เส้น 10 ⟶ 24:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. '''[[ตำนานพุทธเจดีย์]]'''. ธนบุรี : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513.
* เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500)
* สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
* ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล
{{จบอ้างอิง}}
 
{{ปางพระพุทธรูป}}
 
[[หมวดหมู่:ปางพระพุทธรูป|ประทานพร]]
{{เรียงลำดับ|ประทานพร}}
[[หมวดหมู่:ปางพระพุทธรูป|ประทานพร]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}