ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัญกรณ์โอใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[File:Big-O-notation.png|400px|thumb|ตัวอย่างของสัญกรณ์โอใหญ่ โดย ''f''(''x'') ∈ O(''g''(''x'')) ซึ่งหมายความว่ามี ''c''&nbsp;>&nbsp;0 (เช่น ''c''&nbsp;=&nbsp;1) และ ''x''<sub>0</sub> (เช่น ''x''<sub>0</sub>&nbsp;=&nbsp;5) ที่ทำให้ ''f''(''x'')&nbsp;<&nbsp;''cg''(''x'') เมื่อ ''x''&nbsp;>&nbsp;''x''<sub>0</sub>]]
ในวิชา[[ทฤษฎีความซับซ้อน]]และ[[คณิตศาสตร์]] '''สัญกรณ์โอใหญ่''' ({{lang-en|Big O notation}}) เป็น[[สัญกรณ์คณิตศาสตร์]]ที่ใช้บรรยาย[[พฤติกรรมเชิงเส้นกำกับ]]ของ[[ฟังก์ชัน]] โดยระบุเป็น[[ขนาด]] (magnitude) ของฟังก์ชันใน[[พจน์ (คณิตศาสตร์)|พจน์]]ของฟังก์ชันอื่นที่โดยทั่วไปซับซ้อนน้อยกว่า อาทิฟังก์ชัน <math>n^2+n</math> และ <math>n^2+4</math> ล้วนมีอัตราการเติบโต''น้อยกว่า''หรือเท่ากับ <math>n^2</math> จึงอาจกล่าวได้ว่า <math>n^2+n</math> และ <math>n^2+4</math> เป็นสมาชิกของเซตของฟังก์ชัน <math>O (n^2) </math>